การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
การค้าบริการ Trade In Services
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
FTA Details โดย กลุ่มที่ 8 สบ.1.
Free Trade Area กลุ่มที่ 8 สำนักบริหาร มาตรฐาน 1.
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
บรรยายพิเศษ เรื่อง “บทบาทวิศวกรอาหารในประเทศไทย”
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
FTAs WTO การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี FTA ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า และมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1 การเจรจาเพื่อจัดทำ ความตกลงเขต การค้าเสรีอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี  ความเป็นมาและสถานะ ล่าสุด 
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
หัวข้อ“ โอกาสของภาคอุตสาหกรรมไทย จาก FTA ไทย-ชิลี”
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
2546 สินค้าทั้งหมดมีอัตราอากรขาเข้าร้อยละ 0-5
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
สิทธิประโยชน์ทางการค้า
ดร. กุลยา ตันติเตมิท สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 29 กรกฎาคม 2547
FTA : ลู่ทางการส่งออกไป ออสเตรเลีย จีน อินเดีย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
ยุทธศาสตร์ การจัดทำเขตการค้าเสรีของไทย
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
ผลการสำรวจความคิดเห็นของนัก ธุรกิจอินเดียที่มีต่อการค้าการลงทุน กับไทย สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง พฤษภาคม
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี FTAs WTO การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า และมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

WORLD TRADE ORGANIZATION องค์การการค้าโลก WORLD TRADE ORGANIZATION องค์การระหว่างประเทศเพื่อดูแลการค้าทั่วโลก กำเนิด 1 มกราคม 2538 เป็นการรวมกลุ่มทางการค้าที่ใหญ่ที่สุด ปัจจุบันมีสมาชิก 148 ประเทศ ไทยเป็นสมาชิกอันดับที่ 59 อีก 24 ประเทศ (… ซาอุดิอาระเบีย รัสเซีย ลาว ….)

WTO “การรวมกลุ่มทางการค้า คือ RTAs” RTAs = Regional Trade Agreements เป็นความตกลงระหว่างประเทศคู่สัญญาที่เอื้อผลประโยชน์ระหว่างกันให้ดีกว่า หรือมากกว่าเงื่อนไขความตกลงของ WTO ไม่ว่าประเทศเหล่านั้นจะเป็นสมาชิก WTO หรือไม่ก็ตาม Bilateral Free Trade Agreement: BFTA

เป้าหมายของการเปิดการค้าเสรี ใช้เงื่อนไขความพร้อมและมีกำหนดระยะเวลาให้เตรียมการก่อนเปิดเสรี ครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการค้าทุกชนิด แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ การค้าสินค้า (Trade in Goods) และ บริการ (Trade in Services) ~2553 ไทยจะเปิดการค้าเสรีเต็มรูปแบบ

ประเด็นเจรจาการค้าเสรี IPRs Trade Remedies (SG, AD & CVD) Trade in Goods Temporary Entry (Mobility) of Business Persons Finance Competition Policy Trade in Services Science & Tech./ R & D Investment Government Procurement TBT Dispute Settlement Environ Cross Border Service SPS Custom Admin & Procedure Labor e-Commerce Telecom. Textiles and Apparel ROO SME General (Preamble, Definitions, Exception, Final Provisions)

การค้าสินค้า (Trade in Goods) เปิดเสรีด้วยการลดอากรขาเข้า (Tariff) ระหว่างกัน จนในที่สุดมีอัตราร้อยละ 0 ทุกรายการ ลดและยกเลิกการอุดหนุน (Subsidy) ของรัฐ เพื่อไม่ให้มีการบิดเบือนราคาสินค้าส่งออกที่ต่ำกว่าความเป็นจริง ลดและยกเลิกการกีดกันทางการค้า (Non-Tariff Barrier: NTB) ที่ไม่เป็นธรรม

การค้าบริการ (Trade in Services) เปิดเสรี 10 สาขา : บริการธุรกิจ การสื่อสารคมนาคมการก่อสร้างและวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม การศึกษา การเงิน การจัดจำหน่าย นันทนาการ วัฒนธรรมและการกีฬา การท่องเที่ยว และการขนส่ง ไทยได้เปิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 38 การเงิน (1 มี.ค. 42) และโทรคมนาคมขั้นพื้นฐาน (2549) ผูกพันเท่าที่กฎหมายไทยในปัจจุบันให้อำนาจไว้

สาขาที่เจรจาเปิดการค้าเสรี FTA  สาขาเกษตร  สาขาอุตสาหกรรม  สาขาบริการ (การลงทุน ขนส่ง ฯลฯ)  สาขาทรัพยสินทางปัญญา

 การเปิด FTA สาขาเกษตรของไทย  รุกสินค้าที่มีศักยภาพสูง เช่น ข้าว ไก่ กุ้ง ปาล์ม มันสำปะหลัง ผลไม้ไทย ฯลฯ  กำหนดมาตรฐานคุณภาพนำเข้า-ส่งออกสินค้า เกษตร-อาหาร เช่น SPS [MRA]  เจรจาลดและยกเลิกการอุดหนุน (Subsidy)  สินค้าอ่อนไหวให้เปิดช้าที่สุด

 การเปิดเสรีสาขาอุตสหกรรมของไทย  รุกสินค้าที่มีศักยภาพสูง เช่น อาหาร รถยนต์และ ชิ้นส่วนยานยนต์ เพชรพลอย เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ  สร้างมาตรฐาน กำหนดคุณภาพสินค้า [MRA] เจรจายกเลิกการกีดกันที่เป็นอุปสรรค  สินค้าอ่อนไหวให้เปิดช้าที่สุด

 การเปิดเสรีสาขาบริการของไทย  เปิดทีละสาขา (Positive List Approach) เช่น ภัตตาคาร การท่องเที่ยว โรงแรม แพทย์แผนไทย การซ่อมบำรุง ฯลฯ  สาขาที่ยังไม่พร้อมให้เปิดช้าที่สุด ธนาคาร ประกันภัย การขนส่ง โทรคมนาคม ฯลฯ ด้านแรงงาน USA ได้แสดงท่าทีใช้เงื่อนไข ILO ภายใต้ FTA: US Chile และ/หรือ US-SG 

การเปิดสาขาทรัพยสินทางปัญญาของไทย ® เปิดตามกรอบความตกลงของ WTO ™© เน้นความร่วมมือถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิทธิบัตร ™© เน้นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น พันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์

แผนภูมิวงจรการส่งออก สินค้าไทย ราคาส่งออก 100 ศุลกากรจีน อากรขาเข้า 20% ราคาเพิ่ม 20 ผู้ซื้อจีน ราคาสุดท้าย 160 @ ค่าบริหารจัดการ ขนส่ง 20 @ กำไร 20 ราคาเพิ่ม 40

แผนภูมิวงจรการส่งออก FTA สินค้าไทย ได้แหล่งกำเนิด ราคาส่งออก 100 ศุลกากรจีน อากรขาเข้า 0% กำลังซื้อจีนเพิ่ม 20 7:1 (x20 เท่า) ราคาเพิ่ม 20 ผู้ซื้อจีน ราคาสุดท้าย 160 140 @ ค่าบริหารจัดการ ขนส่ง 20 @ กำไรจากการขาย 20 ราคาเพิ่ม 40

ขนาดตลาด FTA ประเมินจากประชากรไทย 1. ASEAN 530 8 เท่า 160 % 2. USA 280 4.3 เท่า 86 % 3. China 1350 20 เท่า 400 % 4. AUS 15 0.23 เท่า 4.6 % 5. JPN 350 5.5 เท่า 110 % 6. India 1000 16 เท่า 320 %

ตลาดส่งออกของไทย 2546 มูลค่า: ล้าน US$ มูลค่า สัดส่วน (%) 1. ASEAN 16,537 20.6 2. USA 13,618 16.9 3. EU 11,761 14.7 4. JPN 11,397 14.2 5. Others (FTAs) 26,926 33.6 รวม 80,239 100 %

ปัจจัยการผลิตที่ต้องคำนึงใน FTA 1. ขนาดกำลังการผลิต เพิ่มหรือลด โรงงานใหม่ 2. วัตถุดิบ นำเข้า ในประเทศ การจัดซื้อ 3. เครื่องจักร เก่า ใหม่ จำนวน ซื้อ นำเข้า 4. เทคโนโลยี ใช้มากขึ้น ซื้อ พัฒนา ? 5. เงินลงทุน ต้องขยายมาก กู้ หุ้นเพิ่มทุน 6. บุคลากร แรงงาน การตลาด ภาษา ฝึกอบรม

FTA ไทย-ออสเตรเลีย 1 ม.ค. 2548 ไทย-อินเดีย 82 9 ต.ค. 46 ไทย-ออสเตรเลีย 1 ม.ค. 2548 FTA Framework Agreement เลือกเจรจาประเด็นตกลงเงื่อนไขที่ต้องการ ไทย-อินเดีย 82 9 ต.ค. 46 EHS 0% Early Harvest Scheme อาเซียน-จีน 07-08 1 ต.ค. 46 ไทย-บาร์เรน 626 29 ธ.ค. 45

ประเด็นหลักในการเจรจาเปิดการค้าเสรี 1. ลดภาษีนำเข้าระหว่างกัน เลือกกลุ่มสินค้าได้ ? 2. มีเงื่อนไขแหล่งกำเนิดสินค้าที่ผลิตและส่งออก 3. อำนวยความสะดวก ขนผ่านด่านศุลกากร 4. เพิ่มกรอบความร่วมมือด้านอื่น และลด NTBs

การลดภาษีของไทยกับ FTAs กลุ่ม U Unilateral ลดฝ่ายเดียว 0% ได้ทันที กลุ่ม R Reciprocal ต่างตอบแทน 0% 2549 กลุ่ม N Normal มีแผนลดภาษี 0% 2550 - 53 กลุ่ม S Sentitive ยังขอภาษีคุ้มครอง 2553-5 ? กลุ่ม O Others ระบุรายละเอียดและมีเหตุผล IN, AUS, JPN, PERU, USA, CHN, BAHRAIN

FTA (RTA) Tariff Update AUS IN CH USA JPN PERU MEX CHILE NZ 1. ASEAN 0-5% Tariff 0% Tariff 2. Bahrain (626) 3% Tariff ----- 3. AUS (98% Tariff lines) 0% Tariff 0% Tariff 4. China (CH. 07 – 08) 0% Tariff ASEAN 5. JPN Negotiation ----- 6. India(Interim) (82) 0% Tariff -----