การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การบริหารงบประมาณ ขั้นตอน 1. จัดทำแผนปฏิบัติการ 2. การใช้จ่ายงบประมาณ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
WINTER 01 การบริหารความเสี่ยง ด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบสารสนเทศ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวารที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง เรื่องที่ 2  เรื่องการรายงานอุบัติเหตุ ( สอป.)  จัดทำหรือปรับปรุงระบบการรายงานการเกิด อุบัติเหตุให้มีประสิทธิภาพ.
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
สรุปแผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพัทลุง ( ฝ่ายบริหารทั่วไป / กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน.
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

คำรับรองการปฏิบัติราชการและการติดตามประเมินผล ปีงบประมาณ 2550 มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร กำหนดให้ “การบริหารความเสี่ยง” เป็นตัวชี้วัดที่ ๑๗ ในการบริหารจัดการองค์กรเพื่อส่งเสริม และผลักดันให้มีการบริหารความเสี่ยงที่ดี ก.พ.ร. กำหนดระดับพัฒนาการของการบริหารความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ

ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน 1 มีคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงของส่วนราชการ ระดับคะแนน 2 ระบุปัจจัยเสี่ยงและวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง ระดับคะแนน 3 จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ 2550 ได้แล้วเสร็จส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๐ ระดับคะแนน 4 ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงของส่วนราชการ ได้แล้วเสร็จครบถ้วน ระดับคะแนน 5 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงปีงบประมาณ 2550 พร้อมกำหนดแนวทาง/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง ในปีต่อไป

คำจำกัดความของความเสี่ยง (risk) ความเสี่ยง หมายถึง คือเหตุการณ์/การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น ภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนและจะส่งผล กระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความ ล้มเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย ตามภารกิจหลักตามกฎหมายจัดตั้งส่วน ราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๐ ของส่วนราชการ

ลักษณะของความเสี่ยง (risk) ความเสี่ยง นั้นสามารถแยกมองเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. ปัจจัยเสี่ยง คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสี่ยง 2. เหตุการณ์เสี่ยง คือ เหตุการณ์ที่ส่งผล กระทบต่อการดำเนินงาน หรือ นโยบาย 3. ผลกระทบของความเสี่ยง คือ ความรุนแรงของ ความเสียหายที่น่าจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์เสี่ยง

ระบบบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรมรวมทั้งกระบวนการดำเนินการต่าง ๆ โดยลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหาย เพื่อให้ระดับความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายตามภารกิจหลักตามกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ของส่วนราชการเป็นสำคัญ

สรุปขั้นตอนแนวทางการบริหารความเสี่ยง กรม ปภ. ขั้นตอนที่ 1 กรมได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและ คณะทำงานบริหารความเสี่ยงแล้วตามคำสั่งกรมฯ ดังนี้ 657/2549 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2549 679/2549 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 001/2550 ลงวันที่ 3 มกราคม 2550 068/2550 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2550

สรุปขั้นตอนแนวทางการบริหารความเสี่ยง กรม ปภ. ขั้นตอนที่ 2 คณะทำงานฯ ได้ดำเนินการจัดฝึกอบรมให้ความรู้และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Work Shop) ดังนี้ - ประชุมครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2550 ประชุมคณะทำงานและเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ - ประชุมครั้งที่ 2/2550 เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2550 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระบุปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ ประเมิน ความเสี่ยงของหน่วยงาน - ประชุมครั้งที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2550 ประชุม พิจารณาจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของกรมฯ แล้วเสร็จได้ 13 โครงการ

สรุปขั้นตอนแนวทางการบริหารความเสี่ยง กรม ปภ. ขั้นตอนที่ 3 คณะทำงานฯ ได้ดำเนินการ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของกรมฯ ได้แล้วเสร็จส่งสำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยงเพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ แจ้งให้หน่วยงานในสังกัดได้ทราบและดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องตามแผนของกรม ปภ. ให้แล้วเสร็จตาม ขั้นตอนที่ 4 เพื่อรายงานและสรุปผลการดำเนินงานพร้อมข้อปรับปรุงแผนในปีต่อไปตาม ขั้นตอนที่ 5 ที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนดเกณฑ์การประเมินผล