การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ฐานข้อมูล Data Base.
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
Information Technology : IT
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เสวนาพาเพลิน อปท. กับ รางวัลพระปกเกล้า
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

ประวัติผู้บรรยาย การศึกษา รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองเปรียบเทียบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศิลปศาสตรบัณฑิต (การท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยรังสิต

ประวัติผู้บรรยาย สถานที่ทำงาน อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต TRDM Institute Director

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คืออะไร การจัดการเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ บทบาทองค์กรปกครองท้องถิ่นในมิติการจัดการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คืออะไร

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คืออะไร ยูเนสโก (UNESCO) ได้ให้นิยามของการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ว่าเป็นการท่องเที่ยวที่มีจุดประสงค์สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาชุมชนที่เกี่ยว ข้องเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินชีวิตของชุมชน โดยจัดกิจกรรม การท่องเที่ยวอย่างกลมกลืนและสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีต่าง ๆ ในชุมชน ในเชิงของการเรียนรู้และการทดลอง เพื่อให้ ได้มาซึ่งประสบการณ์จากสิ่งที่มีอยู่และเป็นอยู่จริงในชุมชน นอกจากนั้น ชุมชนจะต้องสามารถใช้การจัดการท่องเที่ยวสร้างสรรค์เป็นเครื่องมือใน การรักษาความสมดุลระหว่าง 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยวภายในชุมชนและ 2) ชุมชนจะได้รับผลประโยชน์ ทั้งในรูปแบบที่เป็นผลประโยชน์ตอบ แทนอิงตามระบอบทุนนิยมและในรูปแบบความยั่งยืนของการพัฒนาใน ชุมชน

แนวโน้มการท่องเที่ยวในยุคปัจจุบัน Stephen F. McCool and R.Neil Moisey, 2001. Tourism, Recreation, and Sustainability: Linking Culture and Environment. New York: CABI Publishing.p.49

การจัดการเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

โครงสร้างของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว Stephen L J Smith, 1995. Tourism Analysis: A Handbook. Palatino: LONGMAN. P.23

ประเภทของนักท่องเที่ยว Stephen L J Smith, 1995. Tourism Analysis: A Handbook. Palatino: LONGMAN. P.24

ระบบข้อมูลข่าวสารในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว Pauline J. Sheldon, 1997. Tourism Information Technology. New York: CABI Publishing.p.3

ช่องทางการจัดจำหน่ายในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว Dimitrios Buhalis and Eric Laws, 2001. Tourism Distribution Channels: Practices, Issues and Transformations. London: Continuum.p34

ความต้องการข้อมูลข่าวสารของแต่ละกลุ่ม ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว Pauline J. Sheldon, 1997. Tourism Information Technology. New York: CABI Publishing.p.8

แรงจูงใจในการท่องเที่ยวของคนอังกฤษ Chris Cooper, John Fletcher, Alan Fyall, David Gilbert and Stephen Wanhill, 2005. Tourism Principles and Practice. Harlow: Pearson Education Limited.p.59

บทบาทองค์กรปกครองท้องถิ่นในมิติการจัดการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

วาระความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในขณะที่มีการพัฒนา1

วาระความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในขณะที่มีการพัฒนา2

ความต้องการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในปัจจุบัน ข้อดี: การท่องเที่ยวทำให้เกิดรายได้จำนวนมหาศาลเข้าประเทศ ข้อเสีย: ถ้าขาดการดูแลให้ดีพอ ผลของใช้การท่องเที่ยวมาพัฒนาเศรษฐกิจก็นำไปสู่ความขัดแย้งในทางสังคมและการเมืองได้เช่นกัน การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จึงเป็นทางออกในการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน เพราะแม้จะเป็นเหล้าเก่าในขวดใหม่ แต่ก็ช่วยลดข้อเสียลงไปได้

บทบาทองค์กรปกครองท้องถิ่นในมิติการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น จากทั้งหมดต่างสะท้อนให้เห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทที่สำคัญหลายประการ บทบาทการนำการพัฒนา : ท้องถิ่นรู้จักจุดแข็ง จุดอ่อนของพื้นที่ บทบาทการส่งเสริม : ท้องถิ่นมีศักยภาพในการผลักดันนโยบาย แปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม บทบาทการประสาน : ท้องถิ่นมีศักยภาพในการทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน

เอกสารอ้างอิง Stephen F. McCool and R.Neil Moisey, 2001. Tourism, Recreation, and Sustainability: Linking Culture and Environment. New York: CABI Publishing. Pauline J. Sheldon, 1997. Tourism Information Technology. New York: CABI Publishing. Stephen L J Smith, 1995. Tourism Analysis: A Handbook. Palatino: LONGMAN.

เอกสารอ้างอิง Dimitrios Buhalis and Eric Laws, 2001. Tourism Distribution Channels: Practices, Issues and Transformations. London: Continuum. Chris Cooper, John Fletcher, Alan Fyall, David Gilbert and Stephen Wanhill, 2005. Tourism Principles and Practice. Harlow: Pearson Education Limited.

เอกสารอ้างอิง http://www.creativetourism.com/c_main/about