การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
Advertisements

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
อุทธรณ์.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
กฎหมายเบื้องต้น.
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
Research Mapping.
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
ประเด็นปัญหาปัจจุบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
กระบวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจของกรมชลประทาน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
8. การใช้เงินสะสม.
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
หลักคิดพื้นฐานในการ ใช้ดุลพินิจ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธี ปฏิบัติทางปกครอง สุรเกียรติ ฐิตะฐาน.
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานของ สถานศึกษาในการขอรับการ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา จากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
โครงการสำนักงานอธิการบดี ออมทรัพย์เพิ่มพูน
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
สำหรับนักบริหารระดับต้น
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สุรเกียรติ ฐิตะฐาน ผู้อำนวยการส่วนกฎหมายและระเบียบการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

“ดุลพินิจ” คืออะไร ชุดความคิด ดุลพินิจ = อำนาจ (Discretionary Power) ดุลพินิจ = สิ่งจำเป็น (Necessary) ดุลพินิจ = ทางเลือก (Decide) ดุลพินิจ = สิ่งชั่วร้าย (Devil) ดุลพินิจ = สิ่งที่ต้องตรวจสอบ (Tutel)

ท่ามกลางทางเลือกหลาย ๆ ทาง จงเลือกเอาทางที่ชั่วร้ายน้อยที่สุด

ดุลพินิจ = สิ่งชั่วร้าย ที่จำเป็น ดุลพินิจ = สิ่งชั่วร้าย ที่จำเป็น

ความจำเป็นที่ต้องมีดุลพินิจ - กฎ ไม่อาจกำหนดรายละเอียดได้ทุกกรณี - การตัดสินใจ มีพลวัตร ทั้งรุก (Active) และรับ (Passive) - วิจารณญาณ ต้องมีบริบทของข้อเท็จจริงและพฤติการณ์เฉพาะเรื่อง - ความคิดริเริ่มไม่อาจสะดุด หยุดยั้ง - การอำนวยความเป็นธรรมเฉพาะกรณี

อำนาจดุลพินิจ กฎหมายให้อำนาจฝ่ายปกครองในการตัดสินใจอย่างอิสระ เลือกกระทำการ – ไม่เลือกกระทำการ เลือกบนทางเลือกหลายทาง ดุลพินิจ เสรีภาพในการตัดสินใจ

กฎหมายกำหนดเงื่อนไขบังคับมาก = ดุลพินิจน้อย กฎหมายกำหนดเงื่อนไขบังคับน้อย = ดุลพินิจมาก

อำนาจผูกพัน กฎหมายกำหนดให้ทำ กฎหมายไม่ให้เสรีภาพในการตัดสินใจ กฎหมายกำหนดเงื่อนไขข้อเท็จจริงไว้ครบถ้วน

ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ ๑. ข้อเท็จจริงต้องเพียงพอที่จะวินิจฉัย (คิดเองไม่ได้) ๒. ข้อกฎหมายต้องตรงตามที่บัญญัติ - ข้อเท็จจริงที่กฎหมายระบุ - ต้องแยกข้อเท็จจริงสำคัญ , ข้อเท็จจริงรายละเอียด - ปรับบทกับข้อเท็จจริง ๓. ตัดสินใจ

ดุลพินิจที่ชอบ : ดุลพินิจที่ผิดพลาด - มีอำนาจแล้วต้องใช้ - ใช้อย่างอิสระ - ครบถ้วนตามขั้นตอน - ไม่บิดเบือนวัตถุประสงค์ - ไม่เกินขอบอำนาจ - คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพ ของผู้อยู่ในบังคับ - ไม่ฝ่าฝืนระเบียบที่วางไว้เอง - มีเหตุผลเพียงพอ - ไม่ขัดหลักกฎหมายทั่วไป

แนวทางในการควบคุม การใช้ดุลพินิจ หลักแห่งความเหมาะสม หลักแห่งความจำเป็น หลักแห่งความได้สัดส่วน