การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สุรเกียรติ ฐิตะฐาน ผู้อำนวยการส่วนกฎหมายและระเบียบการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
“ดุลพินิจ” คืออะไร ชุดความคิด ดุลพินิจ = อำนาจ (Discretionary Power) ดุลพินิจ = สิ่งจำเป็น (Necessary) ดุลพินิจ = ทางเลือก (Decide) ดุลพินิจ = สิ่งชั่วร้าย (Devil) ดุลพินิจ = สิ่งที่ต้องตรวจสอบ (Tutel)
ท่ามกลางทางเลือกหลาย ๆ ทาง จงเลือกเอาทางที่ชั่วร้ายน้อยที่สุด
ดุลพินิจ = สิ่งชั่วร้าย ที่จำเป็น ดุลพินิจ = สิ่งชั่วร้าย ที่จำเป็น
ความจำเป็นที่ต้องมีดุลพินิจ - กฎ ไม่อาจกำหนดรายละเอียดได้ทุกกรณี - การตัดสินใจ มีพลวัตร ทั้งรุก (Active) และรับ (Passive) - วิจารณญาณ ต้องมีบริบทของข้อเท็จจริงและพฤติการณ์เฉพาะเรื่อง - ความคิดริเริ่มไม่อาจสะดุด หยุดยั้ง - การอำนวยความเป็นธรรมเฉพาะกรณี
อำนาจดุลพินิจ กฎหมายให้อำนาจฝ่ายปกครองในการตัดสินใจอย่างอิสระ เลือกกระทำการ – ไม่เลือกกระทำการ เลือกบนทางเลือกหลายทาง ดุลพินิจ เสรีภาพในการตัดสินใจ
กฎหมายกำหนดเงื่อนไขบังคับมาก = ดุลพินิจน้อย กฎหมายกำหนดเงื่อนไขบังคับน้อย = ดุลพินิจมาก
อำนาจผูกพัน กฎหมายกำหนดให้ทำ กฎหมายไม่ให้เสรีภาพในการตัดสินใจ กฎหมายกำหนดเงื่อนไขข้อเท็จจริงไว้ครบถ้วน
ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ ๑. ข้อเท็จจริงต้องเพียงพอที่จะวินิจฉัย (คิดเองไม่ได้) ๒. ข้อกฎหมายต้องตรงตามที่บัญญัติ - ข้อเท็จจริงที่กฎหมายระบุ - ต้องแยกข้อเท็จจริงสำคัญ , ข้อเท็จจริงรายละเอียด - ปรับบทกับข้อเท็จจริง ๓. ตัดสินใจ
ดุลพินิจที่ชอบ : ดุลพินิจที่ผิดพลาด - มีอำนาจแล้วต้องใช้ - ใช้อย่างอิสระ - ครบถ้วนตามขั้นตอน - ไม่บิดเบือนวัตถุประสงค์ - ไม่เกินขอบอำนาจ - คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพ ของผู้อยู่ในบังคับ - ไม่ฝ่าฝืนระเบียบที่วางไว้เอง - มีเหตุผลเพียงพอ - ไม่ขัดหลักกฎหมายทั่วไป
แนวทางในการควบคุม การใช้ดุลพินิจ หลักแห่งความเหมาะสม หลักแห่งความจำเป็น หลักแห่งความได้สัดส่วน