การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Sector Management Quality Award : PMQA ) รายงานผลการตรวจสุขภาพ (องค์การ) ประจำปี 2552 1 กรกฎาคม 2553
ค่าคะแนนเฉลี่ยตัวชี้วัด PMQA ปี 2552 ระดับกรม จำนวนหน่วยงาน 2.1173 4.9729 ค่าเฉลี่ย 4.1795 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.6381 2
3 ระดับกรม สถานะการบริหารจัดการองค์การ จำแนกรายหมวด 54 84 99 กรม กรม 1 หมวด 1 ระดับกรม สถานะการบริหารจัดการองค์การ จำแนกรายหมวด 10 9 9.35 9.06 8.99 8 8.38 8.21 7.75 7 6 5 5.14 4 3 99 กรม 54 กรม 84 กรม 2 8 กรม 2 กรม 27 กรม 137 กรม หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3
4 ระดับกรม หมวด 1 การนำองค์การ (99 กรม) หมวด 1 การนำองค์การ (99 กรม) 1.1 การนำองค์การ 1.2 ธรรมภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (84 กรม) 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการฯ 3.2 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการฯ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (2 กรม) 5.1การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากรฯ 5.2 การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (54 กรม) 2.1 การวางยุทธศาสตร์ 2.2 การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์ เพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (8 กรม) 4.1การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลฯ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (27 กรม) 6.1 การออกแบบกระบวนการ 6.2 การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (137 กรม) 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ 4
5 LD 1 การกำหนดทิศทางองค์กร LD 5 นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี ส่วนใหญ่ขาด (D) การจัดอันดับอันดับความสำคัญของ การดำเนินปรับปรุง และ (L/I) การทบทวนและปรับปรุงแนวทางกำหนดตัวชี้วัดและแผน การประเมินให้ดีขึ้น LD 1 การกำหนดทิศทางองค์กร LD 5 นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี LD 2 การมอบอำนาจ LD 6 การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน LD 3 กิจกรรมการเรียนรู้ LD 7 มาตรการจัดการผลกระทบทางลบ LD 4 การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 5
6 SP 1 แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ SP 6 การติดตามผลการดำเนินการ ส่วนใหญ่ขาด (D) ระยะเวลาที่ ลงนามคำรับรองฯ แล้วเสร็จ เหมาะสม (L) การจัดทำระบบ รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อ ติดตามผลเป้าหมายความสำเร็จ ของการดำเนินการ (ระดับบุคคล) และ (I) การเชื่อมโยงระหว่างผลการประเมินการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานกับระบบแรงจูงใจ (ระดับบุคคล) SP 1 แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ SP 6 การติดตามผลการดำเนินการ SP 2 ปัจจัยการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ SP 7 การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง SP 3 การวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล SP 4 การสื่อสารยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ SP 5 การถ่ายทอดตัวชี้วัด 6
ส่วนใหญ่ขาด (A/I) หลักฐานการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผลที่ได้ครบ ทุกกลุ่ม CS1 การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 ระดับการมีส่วนร่วม CS2 ช่องทางและประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสาร CS7 การวัดความพึงพอใจ CS3 การจัดการข้อร้องเรียน/ ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น CS8 การวัดความไม่พึงพอใจ CS4 กำหนดวิธีการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS9 มาตรฐานการให้บริการ CS5 การสร้างเครือข่าย CS10 ระบบการติดตามประเมินผล 7
ส่วนใหญ่ขาด (A) ฐานข้อมูลที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ของผลการดำเนินงานตัวชี้วัดทุกตัวในทุกมิติ ที่อยู่ในคำรับรอง IT 1 ระบบฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ IT 6 ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูล IT 2 ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่า IT 3 ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนกระบวนการสนับสนุน IT 4 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร IT 7 แผนการจัดการความรู้ (KM) IT 5 ระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) 8
9 HR1 แผนการสร้างความผาสุข และความพึงพอใจของบุคลากร ส่วนใหญ่ขาด (A) แผนการสร้าง ความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากรที่สอดคล้องกับปัจจัยที่กำหนด HR1 แผนการสร้างความผาสุข และความพึงพอใจของบุคลากร HR2 ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร HR3 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล HR4 ระบบการประกันคุณภาพการฝึกอบรม HR5 แผนการสร้างความก้าวหน้า 9
10 PM 1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า PM 4 การจัดทำแผนสำรองฉุกเฉิน ส่วนใหญ่ขาด (A) การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าไม่ครอบคลุม (D) การนำข้อกำหนดของกระบวนการไปสู่การปฏิบัติ โดยกำหนดตัวชี้วัดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (L) การติดตามผลของตัวชี้วัดฯ เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการ PM 1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า PM 4 การจัดทำแผนสำรองฉุกเฉิน PM 2 การจัดทำข้อกำหนด PM 5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน PM 3 การออกแบบกระบวนการ PM 6 การปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน 10
RM 1 แผนปฏิบัติการที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย RM 1 แผนปฏิบัติการที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย RM 6 การดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง RM 2 ความพึงพอใจของผู้รับบริการ RM 7 บุคลากรพัฒนาตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะ/แผนพัฒนาบุคลากร RM 3 การดำเนินการตามมาตรฐานเวลาของกระบวนการสร้างคุณค่า RM 8 ความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัยของฐานข้อมูลสนับสนุนยุทธศาสตร์ RM4 การดำเนินการตามมาตรฐานเวลาของกระบวนการสนับสนุน RM 9 การดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ RM5 การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย RM 10 โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 11
for Healthy Organization !! THANK YOU for Healthy Organization !! 12