งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

2 บทบาทที่ได้รับมอบหมายจากสำนักงาน ก.พ.ร.
ครั้งที่ 1. ช่วยเรื่องการทำแผนพัฒนาองค์การ 2 หมวด ครั้งที่ 2. ติดตามการดำเนินการตามแผน ครั้งที่ 3. ประเมินองค์การและจัดทำแผนปรับปรุงอีก 2 หมวด

3 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ครั้งที่ 1 การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ
การให้คำปรึกษา การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ครั้งที่ 1 การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ

4 หัวข้อที่นำเสนอ เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารภาครัฐ ประจำปี 2552 กรอบการประเมินผลตามตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กรอบแนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ การใช้เครื่องมือประเมินองค์การตามเกณฑ์ FL Workshop ประเมินองค์การ การจัดทำแผน (Form 1) จัดทำตัวชี้วัด (Form 2) นำเสนอแผนปรับปรุงองค์การ 2 หมวด 6. กำหนดการส่งร่างแผนพัฒนาองค์กรให้หมอองค์กร

5 ขั้นตอนการดำเนินการ ครั้งที่ 1
ภาคเช้า เกณฑ์ PMQA 2552 Workshop หา OFI ตามเกณฑ์ใหม่ ภาคบ่าย ทำแผนจาก OFI ที่พบตามเกณฑ์ใหม่ พร้อมกำหนด KPI นำเสนอผลงาน

6 ชี้แจงทำความเข้าใจ ADLI, LeTCI
PDCA – อยู่ระดับข้อคำถาม 90 คำถาม เกณฑ์เก่า มี 69 How? เกณฑ์ใหม่ มี 52 How?

7 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ครั้งที่ 2 การติดตามการดำเนินการ
การให้คำปรึกษา การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ครั้งที่ 2 การติดตามการดำเนินการ ตามแผนพัฒนาองค์การ

8 กรอบการนำเสนอ ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ทิศทาง และเป้าหมายการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การติดตามผลการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 หมวด ตอบข้อซักถามประเด็นต่างๆที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์การ

9 ขั้นตอนการดำเนินการ ครั้งที่ 2
ผู้บริหารหน่วยงานกล่าวนำ ก.พ.ร. กรมนำเสนอภาพรวม ผู้แทนหมวดนำเสนอความคืบหน้าการปฏิบัติตามแผน ที่ปรึกษาตอบข้อซักถาม

10 สงสัย? ติดต่อ....... คุณสมศรี วัฒนวุฒิพงศ์ โทร. 081 8212625
e mail คุณเพียงใจ จินดายะพานิชย์ โทร e mail คุณทวีสิฎฐ์ บุญญาภิบาล โทร e mail

11 ระบบการจัดการองค์การตามแนวทางของเกณฑ์ PMQA
การนำองค์การอย่างมีวิสัยทัศน์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ ผลลัพธ์ที่สมดุล ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ปัจจัยความสำเร็จ SWOT ความสามารถปฏิบัติตามแผนและอื่นๆ 6.1 กระบวนการสร้างคุณค่า 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 3.2 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 1.1 การนำองค์กร 2.1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 6.1 กระบวนการสนับสนุน 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 2.2 การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ 5.1 ระบบงาน 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ KPI 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร 1.2 ความรับผิด ชอบต่อสังคม 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้

12 1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.1 กระบวนการสร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน 1ก(1) พันธกิจ งานให้บริการ แนวทางและวิธีการ 7.1 ประสิทธิผล 7.2 คุณภาพการให้บริการ 1ก(2) - วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ วัฒนธรรม ค่านิยม หมวด 1 การนำองค์กร 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร 1.1ก(1) การกำหนด วิสัยทัศน์เป้าประสงค์ ค่านิยม และผลดำเนินการ 5.1ก(1) ระบบงาน โครงสร้าง 5.3ก สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.3ข การให้การสนับสนุนและสร้าง ความพึงพอใจให้แก่บุคลากร 1ก(3) - กลุ่มและประเภทของบุคลากร - ความต้องการและความคาดหวัง ข้อกำหนดพิเศษด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 1ก(4) - อาคารสถานที่ เทคโนโลยีและอุปกรณ์ 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธ์ภาพของการปฏิบัติ ราชการ 1ก(5) กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ - ข้อกำหนด - มาตรฐาน 1.2ข การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 5.3ก สภาพแวดล้อมการทำงาน 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร 1ข. ความสัมพันธ์ภายใน และภายนอกองค์กร 1ข(6) โครงสร้างองค์กรและการกำกับดูแล ตนเองที่ดี 1ข(7) - ส่วนราชการหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกัน - ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานร่วมกัน - แนวทางการสื่อสาร 1.1ก(2) ส่งเสริมให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ จริยธรรม 1.1ค(7) การประเมินผู้บริหาร 2.1ก(2) กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ด้านการดำเนินการ 1.1ข การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.2 การสร้างความสัมพันธ์ และความพึงพอใจ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และผลดำเนินการ ของส่วนราชการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 7.2 ผลลัพธ์ด้านคุณภาพการให้บริการ 1ข(8) - กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ความต้องการและความคาดหวังของแต่ละกลุ่ม - แนวทางการสื่อสาร 3.1ก ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

13 2ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ 2ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
2. ความท้าทายต่อองค์กร 2ก. สภาพการแข่งขัน 3.1ก ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย 3.2ข (9) หาข้อมูลเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1ก (2) การเลือกและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 2ก(9) สภาพการแข่งขัน ประเภทและจำนวนคู่แข่ง ประเด็นการแข่งขัน เปรียบเทียบผลการดำเนินการปัจจุบัน 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ หมวด 7 ผลลัพธ์ 2ก(10) ปัจจัยหลักที่ให้ประสบความ สำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง 2ก(11) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 2ก(12) - ข้อจำกัดด้านข้อมูลเปรียบเทียบ 5.1ก(1) ระบบงาน โครงสร้าง 5.3ก สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.3ข การให้การสนับสนุนและสร้างความ พึงพอใจให้แก่บุคลากร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 2ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 2.1ข วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 4.1 การวัด และวิเคราะห์ผลดำเนินการ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์ 2ข(13) - ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ - ตามพันธกิจ - ด้านปฏิบัติการ - ด้านทรัพยากรบุคคล 4.1 การวัด และวิเคราะห์ผลการดำเนินการ 2ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 2ค(14) แนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ 2ค(15) - การเรียนรู้ขององค์กร หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์

14 หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (1) 3 การสื่อสารทิศทางองค์กร (2)2 นโยบาย 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย LD 1 (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1 ตัวชี้วัด 5.2 ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9 what การจัดการผลกระทบ 9.1 กระบวนการ 9.2 เป้าประสงค์ 9.3 ตัวชี้วัด 9.4 (ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การเลือกชุมชน การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน การมีส่วนร่วมของบุคลากร LD 5,6 LD 1 LD 4 LD 2 LD 6 LD7 LD 3

15 หมวด 1 การนำองค์กร LD1 กำหนดทิศทางองค์กร
วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง OP(1) พันธกิจ OP(8) ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดทิศทางองค์กร สื่อสารเพื่อถ่ายทอดไปสู่ปฏิบัติ OP(3) บุคลากร สร้างบรรยากาศ LD2 Empowerment RM1 ประสิทธิผล HR1 ปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ LD3 การเรียนรู้ ความร่วมมือ สร้างแรงจูงใจ LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP5 การถ่ายทอดตัวชี้วัด IT1 ระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน การทบทวนผลการดำเนินการ การปรับปรุงผลการดำเนินงาน SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ PM6 ปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้นและลดความสูญเสีย LD5 SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ RM10 โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี OP(6) โครงสร้างองค์กรและการกำกับดูแลตนเองที่ดี การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 OP(5) กฎระเบียบข้อบังคับ ระบบควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง SP7 แผนบริหารความเสี่ยง LD7 การจัดการผลกระทบทางลบ

16 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ A มีแนวทาง/วิธีการในการกำหนดทิศทางองค์กรที่แสดงให้เห็นถึงการมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยอาจจัดทำเป็นแผนภาพ (Flow Chart) ของกระบวนการ แนวทาง/ช่องทางในการสื่อสารทิศทางขององค์กร ระบุผู้รับผิดชอบในการดำเนินการที่ชัดเจน กำหนด/ทบทวนและสื่อสาร : วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ระยะสั้น - ระยะยาว และผลการดำเนินการที่คาดหวัง จัดประชุมเพื่อทบทวนโดยนำพันธกิจ และความคิดเห็นของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาประกอบการทบทวน เสนอฝ่ายบริหาร วางแผนการสื่อสารในองค์กร กำหนดช่องทางการสื่อสารทิศทางขององค์กร ดำเนินการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การประชุมประจำเดือน การเผยแพร่ใน Intranet ฯลฯ การติดตามผลประสิทธิภาพของการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจ D บุคลากรมีการรับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางขององค์การและสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน L มีการติดตามประเมินผลการกำหนด และสื่อสารทิศทางขององค์การอย่างเป็นระบบ แสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงวิธีการกำหนดทิศทางขององค์กร และวิธีการ/ ช่องทางในการสื่อสาร I ทิศทางขององค์การที่มีความสอดคล้อง พันธกิจ/ความต้องการ/ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

17 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD1
KPI : รหัส LD1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ สร้างการรับรู้ เข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร สิ่งที่ยากคือ D การนำไปสู่การปฏิบัติ ส่วนราชการต้องผลักดันจนมั่นใจว่าบุคลากรรับรู้ เข้าใจ ทิศทางขององค์กรตามประเด็นที่กำหนด หลักฐาน ส่วนราชการอาจจัดทำแบบสำรวจเพื่อแสดงผลการรับรู้ เข้าใจ ผู้ตรวจประเมินอาจใช้วิธีการสุ่มถามจากบุคลากร

18 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ A คำสั่ง/วิธีปฏิบัติ/แนวทางในการมอบอำนาจการตัดสินใจไปสู่บุคลากร Empowerment : ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่าง ๆ กำหนดให้มีรับผิดชอบ/คณะทำงานเพื่อ ศึกษา วิเคราะห์ ทบทวน ความเหมาะสม ของการมอบอำนาจ ผู้มอบอำนาจต้องดำเนินการ ดังนี้ (ตาม พ.ร.ฎ. มอบอำนาจ พ.ศ. 2550) วางหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้อำนาจของผู้รับมอบอำนาจ จัดให้มีระบบการตรวจสอบและการรายงานผลการใช้อำนาจของผู้รับมอบอำนาจ กำกับดูแล และแนะนำการใช้อำนาจของผู้รับมอบอำนาจ จัดทำบัญชีการมอบอำนาจเสนอผู้บังคับบัญชา วิเคราะห์และสรุปผลการมอบอำนาจตามข้อ 2 เพื่อกำหนดแนวทางการมอบอำนาจ ต่อไป D รายงานผลการดำเนินการการมอบอำนาจดังกล่าวพร้อมยกตัวอย่าง L รายงานผลการติดตาม/ทบทวนเรื่องการมอบอำนาจไปสู่บุคลากร I การมอบอำนาจไปสู่บุคลากร สอดคล้องตามตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550

19 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD2
KPI : รหัส LD2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ Empowerment เพื่อความคล่องตัวในการปฏิบัติราชการ สิ่งที่ยากคือ L การติดตามผลการมอบอำนาจ ส่วนราชการต้องรายงานผลการมอบอำนาจ (ตัวอย่างแบบฟอร์มการมอบอำนาจ) หลักฐาน ใช้แบบฟอร์มการมอบอำนาจจะครอบคลุมถึง L

20 ตัวอย่างตารางการมอบอำนาจ (LD2)
ตารางแสดงผลการปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. ๒๕๕๐ ของ ชื่อหน่วยงาน (กระทรวง/กรม/จังหวัด ลำดับที่ มาตรา และชื่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ให้อำนาจ ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย อำนาจตามกฎหมายที่จะมอบให้ปฏิบัติราชการแทน ผู้รับมอบอำนาจ อำนาจที่จะให้มีการมอบอำนาจต่อได้ ผู้รับมอบอำนาจต่อ รายงานผลการใช้อำนาจของผู้รับมอบอำนาจ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 ระบุลำดับที่ ระบุมาตรา และชื่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ให้อำนาจ ระบุตำแหน่งที่ผู้มีอำนาจตามที่กฎหทายในหมายเลข กำหนด อธิบายอำนาจที่ผู้มีอำนาจตามหมายเลข ได้มอบอำนาจให้แก่ผู้รับมอบอำนาจตามหมายเลข พร้อมแนบคำสั่งที่เกี่ยวข้อง ระบุตำแหน่งของผู้รับมอบอำนาจ อธิบายอำนาจที่ผู้รับมอบอำนาจตามหมายเลข สามารถมอบอำนาจต่อให้แก่ผู้รับมอบอำนาจตามหมายเลข ได้ พร้อมแนบคำสั่งที่เกี่ยวข้อง ระบุตำแหน่งของผู้รับมอบอำนาจต่อ สรุปรายงานผลการปฏิบัติราชการแทนของผู้รับมอบอำนาจที่ปฏิบัติตามอำนาจที่รับมอบอำนาจ พร้อมแนบรายงานการมอบอำนาจของผู้รับมอบอำนาจ 2 3 2 4 3 5 5 6 5 7 7 8

21 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพันร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย A แนวทาง/วิธีการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย สร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ สร้างความร่วมมือ สร้างแรงจูงใจ กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภายในองค์กร กำหนดแนวทาง/วิธีการส่งเสริมกิจกรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายในองค์กร (ควรเป็นกิจกรรมที่สร้างความผูกพัน และความร่วมมือ) ติดตามและทบทวนแนวทาง/วิธีการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ D ตัวอย่างกระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ความร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย L ผลการติดตามและทบทวนแนวทาง/วิธีการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการ บูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย เพื่อนำไปสู่การปรับปรุง I กิจกรรมที่กำหนด ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ และสร้างความผูกพัน ความร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุตามเป้าหมายของจังหวัด

22 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD3
KPI : รหัส LD3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพันร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย สร้างบรรยากาศ ให้เกิดการเรียนรู้ สร้างความผูกพันและความร่วมมือภายในองค์กร สร้างแรงจูงใจ ผู้บริหารต้องเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ด้วย แค่เซ็นอนุมัติ รับทราบ ยังไม่เพียงพอ ตัวอย่างกิจกรรม เช่น Morning Brief แต่ต้องกระจายไปให้ครอบคลุมทุกสำนัก/กอง กรณีที่วัดผลสำเร็จโดยใช้แผน KM อาจจะทำให้ไม่บรรลุ LD3 เนื่องจากไม่สามารถตอบได้ว่ากิจกรรมดังกล่าวทำให้เกิดความผูกพัน ร่วมมือ และสร้างแรงจูงใจได้อย่างไร

23 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น A แนวทาง/วิธีการในการกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามประเมินผล โดยอาจจัดทำเป็นแผนภาพ (Flow Chart) ของกระบวนการ ซึ่งตัวชี้วัดที่สำคัญควรประกอบด้วย ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก ตัวชี้วัดเกี่ยวกับกระบวนการที่สร้างคุณค่า ตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์ ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ แผนในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วย แนวทางในการประเมิน กรอบระยะเวลา ผู้รับผิดชอบในการประเมินผล ตัวชี้วัดที่สำคัญ แนวทาง/ปัจจัยที่ใช้ในการนำผลการทบทวนมาจัดลำดับความสำคัญเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น การทบทวนผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงการดำเนินงาน กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญที่จะใช้ในการติดตามงาน กำหนดแผนในทบทวนผลการดำเนินงาน ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย ระยะเวลาและผู้รับผิดชอบในการติดตาม รายงานผลการดำเนินการเสนอฝ่าย บริหารตามกำหนดเวลาที่กำหนด กำหนดหลักเกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญ รวมทั้งจัดลำดับความสำคัญเพื่อปรับปรุงงาน รายงานสรุปภาพรวมการทบทวนและจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการที่ผ่านมาให้มีความเหมาะสม และเสนอแนะแนวทางในการดำเนินการปีต่อไป D ตัวชี้วัดที่สำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามประเมินผล รายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รายงานผลการจัดลำดับความสำคัญของผลการทบทวนที่จะนำมาปรับปรุงการดำเนินงาน L/I มีการทบทวนและปรับปรุงแนวทางในการกำหนดตัวชี้วัดและแผนการประเมินเพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้น

24 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD4
KPI : รหัส LD4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น มีตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงานเพื่อการปรับปรุงให้ดีขึ้น ตัวชี้วัดต้องครอบคลุม 5 กลุ่มตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์ ตัวชี้วัดแผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก ตัวชี้วัดเกี่ยวกับกระบวนการที่สร้างคุณค่า การผลักดันการดำเนินการ อาจกำหนดเป็นวาระเกี่ยวกับการติดตามตัวชี้วัด ไว้ในวาระการประชุมผู้บริหารอย่างสม่ำเสมอ แสดงให้เห็นถึงการจัดลำดับความสำคัญของตัวชี้วัด และนำไปปรับปรุงการดำเนินงาน

25 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของส่วนราชการและเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล ส่วนราชการต้องจัดทำแนว ทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการรองรับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี A แนวทาง/วิธีการในการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีโดย อาจจัดทำเป็นแผนภาพ (Flow Chart)ของกระบวนการ แนวทาง/ช่องทางในการสื่อสารนโยบายในการกำกับดูแลองค์การ ระบุผู้รับผิดชอบในการดำเนินการที่ชัดเจน การกำกับดูแลตนเองที่ดี แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบ กำหนด/ทบทวนนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี กำหนดช่องทางในการสื่อสารนโยบายในการกำกับดูแลองค์การ ดำเนินการตามแผนงานโครงการที่กำหนด ติดตามประเมินผลการดำเนินการ D แผนดำเนินโครงการและผลการดำเนินโครงการรองรับนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ L ผลการติดตามประเมินผลการดำเนินการตามแนวทางนโยบายการกำกับองค์การที่ดี เพื่อนำผลไปปรับปรุงนโยบายและแนวทางการดำเนินดังกล่าว I นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี สอดคล้องเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์การ แสดงผลที่ RM10

26 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD5
KPI : รหัส LD5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของส่วนราชการและเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล ส่วนราชการต้องจัดทำแนว ทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการรองรับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี มีการกำกับดูแลตนเองที่ดี การนำนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี ที่ส่วนราชการได้จัดทำไว้ไปสู่การปฏิบัติ จุดเน้น โครงการที่จะนำมาปฏิบัติส่วนราชการต้องเลือกโครงการที่ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน หรือเลือกมาอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ

27 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินรวมถึง พัฒนาระบบตรวจสอบภายในให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ A แนวทาง/วิธีการ ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยงรวมทั้ง การตรวจสอบทางการเงินของส่วนราชการ อาจจัดทำเป็นแผนภาพ (Flow Chart) ของกระบวนการ รายงานการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ ข้อ 5 ซึ่งกำหนดให้ต้องดำเนินการ ดังนี้ จัดวางระบบการควบคุมภายใน โดยอย่างน้อยต้องแสดงข้อมูล สรุปภารกิจและวัตถุประสงค์การดำเนินงานที่สำคัญในระดับส่วนราชการ และระดับกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการควบคุมโดยเฉพาะเกี่ยวกับความซื่อสัตย์และ จริยธรรมของผู้บริหารระดับสูงและบุคลากรของส่วนราชการ ความเสี่ยงที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมการควบคุมเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่สำคัญตาม (3) ผู้รับผิดชอบประเมินระบบการควบคุมภายใน และวิธีการติดตามประเมินผล 2. รายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามข้อ 1 ต่อผู้บังคับบัญชา รายงานผลการตรวจสอบภายในที่เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการซึ่งประกอบด้วย รายงานผลการตรวจสอบทางการเงิน รายงานผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับ รายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน การกำกับดูแลตนเองที่ดี การควบคุมภายใน กำหนดผู้รับผิดชอบ จัดวางระบบการควบคุมภายใน (ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ ข้อ 5) รายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามข้อ 2 ต่อผู้บังคับบัญชา รายงานผลการปรับปรุงแนวทางในการควบคุมภายใน ตามแบบ ปอ.3 การตรวจสอบภายใน จัดวางระบบการตรวจสอบภายใน ดำเนินการตรวจสอบภายในตามแผนที่กำหนด รายงานผลการตรวจสอบภายใน L รายงานผลการปรับปรุงแนวทางในการควบคุมภายในตามแบบ ปอ.3 ซึ่งแสดงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน I ระบบการควบคุมภายในสอดคล้องเชื่อมโยงกับแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

28 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD6
KPI : รหัส LD6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินรวมถึง พัฒนาระบบตรวจสอบภายในให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการป้องกัน ควบคุม กำกับ การปฏิบัติงานที่ดี การดำเนินการเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ A: การดำเนินการครบถ้วนตามมาตรฐานของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน D: สามารถนำรายงานผลการตรวจสอบภายใน (KPI9) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในคำรับรองฯมาแสดงเป็นหลักฐานได้ L: ต้องนำแนวทางการควบคุมภายในตามที่ได้เขียนไว้ในแบบ ปอ.3 (ปี 2551) มาปรับปรุงระบบควบคุมภายในให้ดีขึ้น หลักฐาน ปอ.3 กรณี Site Visit ก่อนเดือนธันวาคม จะพิจารณาจากแบบ ปอ.3 ปี 2551 แต่ถ้าหลังเดือนธันวาคม จะพิจารณาจากแบบ ปอ.3 ปี 2552

29 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 1 การนำองค์กร KPI : รหัส LD7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ A มาตรการ/วิธีการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคมอาจจัดทำเป็นแผนภาพ (Flow Chart) ของกระบวนการ หมายเหตุ กรณีส่วนราชการใดไม่มีผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคมให้แสดงมาตรการหรือวิธีการในการป้องกันผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นกับสังคม การจัดการผลกระทบทางลบ กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนดมาตรการ/วิธีการในการจัดการผลกระทบทางลบ ดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางที่กำหนด รายงานผลการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม ทบทวนวิธีการในการจัดการผลกระทบลบ D L มีการทบทวนวิธีการในการจัดการผลกระทบลบ เพื่อปรับปรุงแนวทาง/มาตรการ/วิธีการดำเนินการ I มาตรการจัดการผลกระทบทางลบที่กำหนดสอดคล้องกับพันธกิจขององค์การ

30 หมวด 1 การนำองค์กร รหัส LD7
KPI : รหัส LD7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีกระบวนการจัดการผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นต่อสังคม การกำหนดมาตรการจัดการผลกระทบทางลบ ควรนำบทเรียนในอดีตมาเป็นแนวทาง แล้ววิเคราะห์ว่าถ้าทำแบบเดิมจะเกิดผลดีหรือไม่อย่างไร กรณีไม่มีบทเรียนในอดีต อาจคิดเชิงทฤษฎี เช่น ก่อนออกนโยบาย อาจเริ่มจาก Focus Group ผู้เกี่ยวข้อง ทดลองนำร่องก่อน โดยมีระบบติดตามใกล้ชิด มีผู้รับผิดชอบชัดเจน กรณีมีมาตรการป้องกันผลกระทบทางลบแต่ไม่มีผลกระทบทางลบเกิดขึ้น D: จะพิจารณาจากการสื่อสารมาตรการป้องกันผลกระทบให้ผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง L: ให้รายงานผลว่าจากมาตรการป้องกันดังกล่าวทำให้ไม่มีผลกระทบทางลบเกิดขึ้นอย่างไร

31 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. การจัดทำ ยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1 ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2 เป้าหมายและระยะเวลา 3.3 ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี ดูความท้าทาย ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลง ที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2 การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการเพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1 เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2 เป้าหมายเปรียบเทียบ SP 4 SP 1 SP 1 SP 2 SP 7 SP 2 การปรับปรุงกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ นำผลการทบทวนการดำเนินงาน ผลจากการประเมิน SP 3 SP 6 SP 3

32 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
ปัจจัยภายใน ภายนอก OP1,2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง OP5,6 กฎ ระเบียบ โครงสร้าง OP8 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย LD1 ทิศทางองค์กร LD4 ผลการดำเนินการ LD5 การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 ความเสี่ยง LD7 ผลกระทบทางลบ การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี, 1 ปี) SP1 กำหนดขั้นตอน กิจกรรม กรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ SP2 นำปัจจัยที่สำคัญมาใช้ประกอบ SP3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล แผนทรัพยากร OP3 บุคลากร OP4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ HR3 พัฒนาบุคลากร SP4 LD1 สื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทาง สื่อสารสร้างความเข้าใจ OP3 บุคลากร SP5 ถ่ายทอดเป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ IT1 ระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน SP6 จัดทำรายละเอียดโครงการ (ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากร) หมวด 7 LD5,6 ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล SP2 ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ IT6 ความเสี่ยง ICT PM6 ความเสี่ยงกระบวนการ SP7 แผนบริหารความเสี่ยง RM6 ผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง

33 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรมและกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการบรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ A มีการจัดทำแผนภาพ (Flowchart) ของการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีเป็นลายลักษณ์อักษร ระบุแต่ละขั้นตอนของกระบวนการอย่างชัดเจน ระบุกรอบเวลาในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน ระบุผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน การกำหนดขั้นตอน กิจกรรม กรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ    กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนดขั้นตอน/กิจกรรม/กรอบเวลา/ผู้รับผิดชอบในการจัดทำ แผน 4 ปี และ 1 ปี ในแต่ละขั้นตอน กำหนดปัจจัยที่จะนำมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำแผน (มีกระบวนการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละประเภทข้อมูลที่ใช้อย่างชัดเจน) วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเสี่ยงในด้านการเงิน สังคม และจริยธรรม กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขององค์กร จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการจัดทำแผน วิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกเพื่อจัดทำแผน 4 ปี และ 1 ปี ทบทวนกระบวนการจัดทำแผน 4 ปี และ 1 ปี (ปลายปี) D แสดงการถ่ายทอดค่าเป้าหมาย (cascading) ระหว่างแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของผู้บริหารในทุกระดับ L แสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการให้ดีขึ้นจากเดิม สามารถแสดงให้เห็นถึงการนำเรื่องเหล่านี้ไปใช้ปรับปรุงกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ผลการประเมินจากผู้ประเมินภายนอกองค์การ ผลการประเมินจากผู้ประเมินภายในองค์การ (เช่น การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA เป็นต้น) I กลยุทธ์หลักที่กำหนด ต้องแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องตามที่ระบุไว้ในลักษณะสำคัญขององค์กร ปี 2551 ดังนี้ แสดงให้เห็นถึงกลยุทธ์ที่รองรับความท้าทายที่สำคัญขององค์กร ครอบคลุมทั้งด้านพันธกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านทรัพยากรบุคลากร แสดงให้เห็นถึงกลยุทธ์ที่ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ

34 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรมและกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการบรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ กระบวนการวางแผนชัดเจน มีประสิทธิภาพ นำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ จุดเน้น : การแสดง Flow chart หรือขั้นตอนการจัดทำแผนของส่วนราชการที่ชัดเจน ว่าเป็นอย่างไร ต้องแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องเชื่อมโยง ว่ากลยุทธ์ที่กำหนดมีความสอดคล้องกับแผน 4 ปี และแผน 1 ปี อย่างไร จุดยาก การเก็บหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการจัดทำแผนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหาร

35 ตัวอย่างตารางขั้นตอนของกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (SP1)
ขั้นตอนกระบวนการ รายละเอียดของขั้นตอนกระบวนการ ผู้เข้าร่วม ช่วงเวลาตามปฏิทิน 1 การเตรียมการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….. ……………. 2 การทบทวนผลการดำเนินการที่ผ่านมา ……………………………………………………………………… 3 การวิเคราะห์ SWOT 4 ………………………………………. 5 ………………………………………..

36 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วยวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ รวมถึง กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างส่วนราชการ A มีกระบวนการรวบรวมข้อมูล ในแต่ละประเภทข้อมูลที่ใช้อย่างชัดเจน มีกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ในแต่ละประเภทข้อมูลที่ใช้อย่างชัดเจน ปัจจัยที่นำมาใช้ในการจัดทำแผน พิจารณาร่วมกับ SP1 D แสดงให้เห็นถึงปัจจัยภายในและภายนอกที่นำมาใช้ประกอบการวางแผนฯ อย่างน้อยประกอบด้วย วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเสี่ยงในด้านการเงิน สังคม และจริยธรรม กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขององค์กร แสดงประเภทข้อมูลในแต่ละปัจจัยภายในและภายนอกที่ใช้ประกอบการวางแผนฯ ได้อย่างชัดเจน สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสม ได้แก่ ข้อมูลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลปัจจุบัน การรวบรวมข้อมูลต้องครอบคลุมทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์ที่เหมาะสมกับประเภทข้อมูล L แสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยน/เพิ่มเติมปัจจัย (ประเภทข้อมูล) ที่นำมาใช้ประกอบการวางแผน I สามารถแสดงใหเห็นว่าการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ที่วิเคราะห์ถึงความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม และจริยธรรม กฎหมาย ข้อบังคับ และด้านอื่น ๆ ได้ถูกนำไปใช้ในการจัดทำแผนธรรมาภิบาล หรือนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี

37 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วยวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ รวมถึง กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างส่วนราชการ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการทำแผนให้มีคุณภาพ โดยต้องนำปัจจัยภายในและภายนอกที่กำหนด มาประกอบการทำแผนให้ครบถ้วน ต้องแสดงให้เห็นว่าได้นำปัจจัยต่างๆที่กำหนดใน D มาใช้ประกอบการทำแผนได้อย่างครบถ้วน (ตัวอย่าง) L: ต้องแสดงให้เห็นถึงการเปรียบเทียบการนำปัจจัยมาใช้ประกอบการวางแผน ระหว่างปี 2552 และปี 2553 ว่าได้มีการเพิ่มเติมปัจจัยอะไรบ้าง

38 ตัวอย่างตารางการจัดเก็บข้อมูล (SP2)
ปัจจัยสำคัญในกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ แหล่งข้อมูลและสารสนเทศที่ใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล (รอบของการเก็บ) และผู้รับผิดชอบ การนำมาใช้ในขั้นตอนกระบวนการ* …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………..………………………………….. …………………………………………………………………... ……………………………………………………………..……. ………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………..…. ……………………..……………………………………………….. …………………………………………………………..………. *สัมพันธ์กับขั้นตอนตัวอย่างกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (SP1)

39 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของส่วนราชการ รวมทั้ง ต้องมีการวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอื่น ๆเพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ A มีแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อย่างน้อยต้องครอบคลุมในแต่ละด้าน ดังนี้ การวางแผนและบริหารกำลังคน แผนพัฒนาบุคลากร แผนการบริหารทรัพยากรบุคลากรที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง ในสายงานหลัก แผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล การวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ด้านบุคลากร วิเคราะห์ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ จัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างน้อยต้องครอบคลุมในแต่ละด้าน ดังนี้ นำเสนอแผนต่อฝ่ายบริหาร(ศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือการจัดทำแผนฯ ตามแนวทาง HR Scorecard)

40 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของส่วนราชการ รวมทั้ง ต้องมีการวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอื่น ๆเพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ การวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี จุดเน้น การวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ 1 ปี กรณี แผนบริหารทรัพยากรบุคคล ที่ทำไว้แล้ว ซึ่งเป็นแผนระยะยาว จะทำอย่างไร ส่วนราชการจะต้องแสดงให้เห็นว่าทุกครั้งที่มีการทำแผน 4 ปี หรือ แผน 1 ปี จะต้องมีการนำแผนบริหารทรัพยากรบุคคลมาทบทวนเพื่อให้สอดคล้องกับแผน 4 ปี หรือ แผน 1 ปี ดังกล่าว หลักฐาน การแสดงความเชื่อมโยงของแผนซึ่งอาจแสดงในรูปของตาราง เช่น กลยุทธ์ของแผนปฏิบัติราชการที่ 2.1 สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลข้อ 1.2

41 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ผู้บริหารต้องมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรได้รับรู้เข้าใจและนำไปปฏิบัติ รวมทั้งเพื่อให้มีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติดังกล่าวบรรลุผล A สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่ผู้บริหารใช้ในการสื่อสารและสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามแผนให้กับบุคลการ การสื่อสารและนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนดช่องทางและแผนการสื่อสารเรื่องยุทธศาสตร์ วางแผนการสื่อสารในองค์กร กำหนดช่องทางการสื่อสารยุทธศาสตร์ ดำเนินการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การประชุมประจำเดือน การเผยแพร่ใน Intranet ฯลฯ การติดตามผลประสิทธิภาพของการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจ D การสื่อสารและสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามแผนต้องครอบคลุมประเด็น การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ การปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัดของแต่ละแผนปฏิบัติการ บทบาทหน้าที่ของบุคลากรต่อการบรรลุเป้าหมายองค์กร L สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่บุคลากรใช้ในการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงาน แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมในการแลก เปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่ดีในการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ภายในส่วนราชการ

42 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ผู้บริหารต้องมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรได้รับรู้เข้าใจและนำไปปฏิบัติ รวมทั้งเพื่อให้มีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติดังกล่าวบรรลุผล เพื่อให้บุคลากรรับรู้ เข้าใจ แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างบรรลุผล จุดเน้น ส่วนราชการต้องมั่นใจว่าบุคลากรสามารถนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติได้ ผู้บริหารต้องสื่อสารทำความเข้าใจให้กับบุคลากร การสื่อสารอาจดำเนินการพร้อมกับการสื่อสาร LD1 ได้

43 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน (ทุกหน่วยงาน) และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 สำนัก/กอง รวมทั้ง มีการจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ A มีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) ระดับองค์การ มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง (ทุกสำนัก/กอง) ที่แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับหน่วยงาน มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 สำนัก/กอง) ที่แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับบุคคล มีแนวทางการติดตามความก้าวหน้าและรายงานผล มีแผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล (Gantt Chart) การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล จัดตั้งคณะทำงาน จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) ระดับองค์การและการแสดงให้เห็นถึงถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลหรือกลุ่มงาน การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับบุคลากรทั่วทั้งองค์การ เพื่อรับทราบและเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การ การจัดทำข้อตกลงในการปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรในทุกระดับ การจัดทำระบบรายงานผลการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล เพื่อติดตามผลเป้าหมายความสำเร็จโดยรวมขององค์การ (ดำเนินการตามขั้นตอน IPA) D มีการจัดทำข้อตกลงในการปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรในทุกระดับที่มีการถ่ายทอดตัวชี้วัด สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารตัวชี้วัดที่ทำการถ่ายทอดลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล L มีการจัดทำระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อติดตามผลเป้าหมายความสำเร็จของการดำเนินการ I มีการเชื่อมโยงระหว่างผลการประเมินการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานกับระบบแรงจูงใจ

44 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน (ทุกหน่วยงาน) และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 สำนัก/กอง รวมทั้ง มีการจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อทำให้การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กำหนดให้ถ่ายทอดลงสู่ระดับสำนัก/กอง ไม่ควรทำใน ตสน. หรือ กพร. เพราะเป็นกลุ่มขนาดเล็กจะทำให้ไม่สามารถขยายผลในปีต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยังไม่สามารถใช้คู่มือการประเมินผลระดับบุคคลของ กพ.ได้ในปีนี้ เพราะว่า กพ. จะเริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ 2553

45 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วยระยะเวลาผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม A มีการจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ซึ่งต้องประกอบด้วย ระยะเวลาดำเนินการในแต่ละกิจกรรม ผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนงาน/โครงการ การจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากรด้านอื่น ๆ การติดตามผลการดำเนินงานตามแผน กำหนดระบบในการติดตามแผนงาน/โครงการ ดำเนินการติดตามแผนงานตามระบบที่กำหนด รายงานผลการติดตามอย่างสม่ำเสมอ D แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการดำเนินการตามรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ตามที่กำหนด แสดงให้เห็นถึงมีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีโดยผ่านการติดตามการดำเนินงานในแต่ละแผนงาน/โครงการ

46 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วยระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม เพื่อให้การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จุดเน้น ต้องการเห็นว่าส่วนราชการมีการติดตามโครงการอย่างไร กรณีใช้ MS Project ติดตามจะครอบคลุมเงื่อนไขที่กำหนดทั้งหมด กรณีไม่ใช้ MS Project ส่วนราชการจะต้องมีแบบฟอร์มรายงานและติดตามงาน การดำเนินการตาม SP6 จะเชื่อมโยงกับ LD4

47 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร การดำเนินการที่ครบถ้วน
KPI : รหัส SP7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อเตรียมการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมา ภิบาล ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านกระบวนการ A มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในด้านต่างๆ ดังนี้ ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเสี่ยงด้านกระบวนการ แผนตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยง จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ดำเนินการตามแผน กำหนดช่องทางในการสื่อสารแผน สรุปผลการดำเนินการตามแผนเสนอฝ่ายบริหาร (อย่างน้อย 2 ครั้ง) จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง เมื่อสิ้นปีงบประมาณ D มีการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงด้านการกำกับดูแลตนเองที่ดี อย่างน้อย 2 เรื่อง คือ เรื่องการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และเรื่องการเงิน มีการนำแผนบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้านที่กำหนดไปปฏิบัติ สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารการนำแผนบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ L มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงและนำเสนอผู้บริหารไตรมาสละ 1 ครั้ง อย่างน้อย 2 ไตรมาส มีการจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง เมื่อสิ้นปีงบประมาณ แสดงผลที่ RM6

48 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์นำองค์กร
KPI : รหัส SP7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อเตรียมการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมา ภิบาล ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านกระบวนการ เพื่อให้มีแผนบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมทุกด้าน ต้องมีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามแนวทางที่กำหนด (RM) ส่วนราชการต้องรายงานผลให้ผู้บริหารทราบอย่างน้อยไตรมาส ละ 1 ครั้ง

49 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.1 ความรู้เกี่ยวกับรับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภท/กลุ่ม การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ ให้เหมาะสม ทันสมัย (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ สนองความคาดหวัง สร้างความประทับใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ 5.1 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย สามารถติดต่อ ขอข้อมูล ขอรับบริการ ขอร้องเรียน 5.2 การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร ระบบติดตามการปฏิบัติ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน กระบวนการจัดการ วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้สวนเสีย 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ สร้างความประทับใจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ปรับปรุงการทำงาน (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที นำไปใช้ต่อได้ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ ให้เหมาะสม ทันสมัย CS 1 CS 5 CS 7 CS 8 CS 6 CS 2 CS 10 CS 9 CS 3 CS 4 49

50 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
OP8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ CS2 ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ CS3 ระบบการจัดการข้อร้องเรียน CS4 นำข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ CS5 การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม PM6 ปรับปรุงกระบวนการ CS9 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน PM5 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน RM2 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ CS7 วัดความพึงพอใจ CS8 วัดความไม่พึงพอใจ PM6 ปรับปรุงกระบวนการ CS10 ติดตามคุณภาพบริการ

51 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม A มีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครบตามพันธกิจที่กำหนดไว้ การกำหนดและจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนด/ทบทวน กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้ครอบคลุมพันธกิจขององค์การ จัดทำ/ปรับปรุงข้อมูลผู้รับบริการ (Customer Profile) ให้ทันสมัย I การกำหนดกลุ่มดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าสามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม

52 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม การกำหนดและจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่วนราชการควรมีการทบทวนกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่กำหนดไว้ว่าครอบคลุมตามพันธกิจหรือไม่ จุดสำคัญของ CS1 คือ I ซึ่งการจัดทำ Customer Profile ที่เป็นตารางแสดงถึงกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทางการให้บริการ ความต้องการและความคาดหวัง จะสมารถสะท้อนความเชื่อมโยงได้ดี

53 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว A ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อประเมินผลช่องทางที่มีอยู่ในปัจจุบัน ปรับปรุงช่องทางการสื่อสารจากผลการศึกษา ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสาร D/I ส่วนราชการนำข้อมูลที่ได้จากช่องทางต่างๆ มาปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น 1 กระบวนงาน หรือ 1 โครงการ

54 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง ที่มีประสิทธิภาพ จุดเน้น : การมีช่องทางที่มีประสิทธิภาพ ต้องแสดงให้เห็นว่าช่องทางที่มีอยู่เดิม หรือที่สร้างขึ้นใหม่ มีประสิทธิภาพอย่างไร วิธีการที่ดี ที่สามารถได้ข้อมูลความต้องการที่รวดเร็วได้แก่ Focus Group หรืออาจใช้วิธีการอื่นตามความเหมาะสม หลักฐาน ผู้ตรวจประเมินอาจให้ชี้แจงหลักฐานที่แสดงถึงความมีประสิทธิภาพของช่องทาง จุดสำคัญ : D/I จะต้องแสดงให้เห็นถึงการนำข้อมูลที่ได้จากช่องทางมาปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น 1 กระบวนงาน

55 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการรวบรวมข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชย ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชยเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างทันท่วงที A/D ส่วนราชการมีการระบุชื่อผู้รับผิดชอบ/หรือกลุ่มงานที่เป็นผู้รับผิดชอบไว้มากกว่า 80% ของงานในกลุ่มงานต่างๆ การจัดการข้อร้องเรียน กำหนดผู้รับผิดชอบ วางระบบการจัดการข้อร้องเรียนฯลฯ รวบรวมและสรุปข้อร้องเรียนฯ เสนอฝ่ายบริหาร นำข้อร้องเรียนมาปรับปรุงการดำเนินการ รายงานผลการจัดการข้อร้องเรียน L มีการทบทวนระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างทันท่วงที

56 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการรวบรวมข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชย ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชยเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างทันท่วงที เพื่อให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดการข้อร้องเรียนและมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างทันท่วงที จุดเน้น : ต้องการให้มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน กรณีที่ไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ส่วนราชการจะต้องมีการกำหนดผู้รับผิดชอบเรื่องการจัดการข้อร้องเรียนไว้มากกว่า ร้อยละ 80 ของกระบวนงาน ต้องมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน กรณีที่ส่วนราชการมีการจัดทำไว้แล้วตามหลักฐานที่ 40 ให้นำมาทบทวนอีกครั้งว่ามีความเหมาะสม และสามารถตอบสนองความต้องการอย่างทันท่วงทีหรือไม่

57 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการได้นำข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชย ใน CS 3 มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดวิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและหรือการปฏิบัติงานให้เหมาะสม A/D/L/I ส่วนราชการสามารถระบุตัวอย่างงานที่นำข้อร้องเรียน/เสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย จากการรับฟังในช่องทางต่างๆ มาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการหรือปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ข้อร้องเรียนเพื่อนำไปปรับปรุงงาน พิจารณาร่วมกับ CS 3

58 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการได้นำข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชย ใน CS 3 มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดวิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและหรือการปฏิบัติงานให้เหมาะสม เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและหรือการปฏิบัติงานให้เหมาะสม แสดงผลการปรับปรุงการให้บริการ/การปฏิบัติงาน สามารถใช้การปรับปรุงรายการเดียวกันกับ CS2 ได้ แต่ต้องแสดงการปรับปรุงงานที่สัมพันธ์กับกระบวนการในหมวด 6 อย่างชัดเจน

59 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่าย และจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย A ส่วนราชการมีข้อมูลของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งช่องทางการติดต่อกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างน้อย 2 ช่องทาง การสร้างความสัมพันธ์ จำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดรูปแบบกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ให้เหมาะสม ดำเนินกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ทบทวนวิธีการสร้างความสัมพันธ์ D/I มีกิจกรรมการสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

60 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่าย และจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ A : มุ่งเน้นให้มีการจัดทำข้อมูลของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนั้น ส่วนราชการอาจจัดทำทะเบียนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และจัดให้มีช่องทางในการติดต่อกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น จดหมายข่าว D/I : อาจใช้ตัวอย่างกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ เช่น การจัดสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยน

61 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ตามระดับการมีส่วนร่วม 5 ระดับ คือการให้ข้อมูล ปรึกษาหารือร่วมกัน การให้เข้ามาเกี่ยวข้อง การร่วมมือกัน และการเสริมอำนาจประชาชน ผ่านกิจกรรมต่างๆอย่างสม่ำเสมอรวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ และร่วมติดตามประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ A ส่วนราชการสามารถแสดงระบบ วิธีการ หรือกลไกที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม นำขั้นตอนของตัวชี้วัดการมีส่วนร่วมมาเป็นแผนการดำเนินการหรือ หากส่วนราชการดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดการมีส่วนร่วมก็เท่ากับเป็นแผนการดำเนินการของประเด็นนี้ด้วย กล่าวคือ พิจารณากำหนดประเด็นในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม จัดตั้งคณะที่ปรึกษาภาคประชาชน/คณะทำงานภาคประชาชน จัดให้มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นของ ปชช. ส่วนราชการและคณะที่ปรึกษา/คณะทำงานภาคประชาชนร่วมกันจัดทำแผนงาน/โครงการ ดำเนินการตามแผนงาน จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน เผยแพร่สรุปผลการดำเนินงาน จัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานในปีต่อไป และนำเสนอต่อผู้บริหาร (ศึกษาขั้นตอนตัวชี้วัดการมีส่วนร่วมเพิ่มเติม) D ส่วนราชการสามารถให้ตัวอย่างกิจกรรม โครงการ เวทีวาระต่างๆในการแสดงความคิดเห็นจากภาคประชาชน L/I ส่วนราชการจัดวิธีการ และช่องทางให้แก่ประชาชนได้เข้ามาการติดตามประเมินผลหรือตรวจสอบการบริหารจัดการของส่วนราชการ

62 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ตามระดับการมีส่วนร่วม 5 ระดับ คือการให้ข้อมูล ปรึกษาหารือร่วมกัน การให้เข้ามาเกี่ยวข้อง การร่วมมือกัน และการเสริมอำนาจประชาชน ผ่านกิจกรรมต่างๆอย่างสม่ำเสมอรวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ และร่วมติดตามประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม แม้มีการดำเนินการตามตัวชี้วัดตามคำรับรอง เรื่องการมีส่วนร่วม แต่ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าการดำเนินการดังกล่าวครอบคลุม ADLI ตาม CS6 หรือไม่

63 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีการวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ A/I หลักฐานการวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผลที่ได้ การวัดความพึงพอใจ จำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดรูปแบบของการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ให้เหมาะสมกับแต่ละกลุ่ม ดำเนินการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ประเมินและวิเคราะห์ผลการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ เสนอต่อฝ่ายบริหาร นำผลการวิเคราะห์มาจัดลำดับความสำคัญและปรับปรุงการดำเนินการ D/L แสดงให้เห็นว่าได้นำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ

64 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีการวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ วัดความพึงพอใจเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงาน ส่วนราชการสามารถจัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจได้เองทั้ง 2 กลุ่ม เพื่อนำมาปรับปรุงงานประจำที่เป็นงานบริการ การวัดความพึงพอใจจะต้องให้ครอบคลุมกลุ่มที่กำหนดไว้ใน CS1 แสดงให้เห็นว่าได้นำผลความพึงพอใจไปปรับปรุงการให้บริการอย่างไร

65 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS8 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ A/I หลักฐานการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผลที่ได้ การวัดความไม่พึงพอใจ พิจารณาร่วมกับ CS 7 D/L แสดงให้เห็นว่าได้นำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ

66 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS8 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ วัดความไม่พึงพอใจเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงาน ดำเนินการเช่นเดียวกับ CS8 แต่ต้องเป็นแบบวัดในประเด็นความไม่พึงพอใจ การวัดความไม่พึงพอใจจะนำไปสู่การปรับปรุงได้ผลชัดเจนมากกว่า และเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดข้อร้องเรียน ความไม่พึงพอใจจะมีผลกระทบต่อองค์กรมาก หากส่วนราชการไม่ทราบความไม่พึงพอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ขององค์กร การสำรวจต้องครอบคลุมทุกกลุ่มตามที่กำหนดไว้ใน CS1

67 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS9 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐาน คู่มือ แนวทางการปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงานโดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ A/D/I ตัวอย่างมาตรฐานหรือวิธีการให้บริการที่ได้จัดทำไว้ รวมทั้งมีการจัดทำและประกาศให้ประชาชนได้ทราบแผนภูมิ หรือคู่มือการติดต่อราชการที่ระบุระยะเวลาการให้บริการที่ชัดเจนในภารกิจหลักขององค์กร การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร กำหนดผู้รับผิดชอบ คัดเลือกกระบวนงานให้บริการ วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลการให้บริการ จัดทำคู่มือ/มาตรฐาน/แนวทางการปฏิบัติ ชี้แจง ให้ความรู้กับบุคลกรในการดำเนินการตามมาตรฐาน ประกาศมาตรฐานการดำเนินการให้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ ติดตามผลการดำเนินการตามมาตรฐาน

68 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS9 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐาน คู่มือ แนวทางการปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงานโดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ เพื่อให้การให้บริการได้มาตรฐานและเป็นไปในแนวเดียวกัน การดำเนินการตาม CS9 ประกอบด้วย 2 ส่วน การดำเนินการตามการลดขั้นตอนระยะเวลาที่เคยดำเนินการ ตาม พ.ร.ฎ. GG ม. 37 ซึ่งต้อง กำหนดระยะเวลาการให้บริการ จัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ กำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการอย่างชัดเจน เพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรจะมีมาตรฐานการให้บริการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ อย่างน้อยควรมีการจัดทำคู่มือการให้บริการ 1 งานบริการสำคัญ

69 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS10 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องกำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการเพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงการบริการให้สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างเหมาะสม A/D/L/I ส่วนราชการมีระบบการติดตามและประเมินผลอย่างไร มีผู้รับผิดชอบการติดตามประเมินผลและมีตัวชี้วัดเป้าหมายเป็นรูปธรรม การติดตามเรื่องคุณภาพการ รวบรวมข้อมูลงานบริการ กำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการ วิเคราะห์และสรุปผลคุณภาพการให้บริการ วางแผนการดำเนินการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ดำเนินการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ

70 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
KPI : รหัส CS10 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องกำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการเพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงการบริการให้สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้มีระบบการติดตามคุณภาพการให้บริการ การกำหนดระบบการติดตาม ส่วนราชการต้องแสดงให้เห็นว่ามีระบบการติดตามคุณภาพการให้บริการในภาพรวมอย่างไร ความถี่ในการติดตาม องค์ประกอบที่ใช้ในการติดตาม ผู้รับผิดชอบ แสดงให้เห็นถึงการนำผลมาวิเคราะห์และปรับปรุงการให้บริการ หากดำเนินการ CS10 ได้ดีจะส่งผลต่อระดับความพึงพอใจใน RM2

71 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล 1.1 การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล ให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ จากการเปลี่ยนแปลงภายใน จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก (36)4 what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ปลอดภัย ให้เชื่อถือได้ ใช้งานง่าย (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (41)9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11 ประการ ความครอบคลุม ความถูกต้อง ความทันสมัย ความรวดเร็ว ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ความปลอดภัย การรักษาความลับ IT 7 IT 4 IT 1-3 IT 5-6 IT 1

72 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ฐานข้อมูล LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP5 ตัวชี้วัด เป้าหมาย SP6 รายละเอียดโครงการ IT1 ฐานข้อมูลผลการดำเนินการ หมวด 7 RM8.1 ความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัยของฐานข้อมูล PM1 กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน IT2,3 ฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการ RM8.2 ข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบ statXchange IT5 ระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย LD4 ระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ IT4 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ CS5 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม IT6 ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ SP7 แผนบริหารความเสี่ยง PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน RM6 การบริหารความเสี่ยง IT7 การจัดการความรู้ OP15 การเรียนรู้ขององค์กร LD3 บรรยากาศการเรียนรู้ HR3 การพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร RM9 การจัดการความรู้

73 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย A แสดงระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2552 และข้อมูลย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี (พ.ศ – 2551) การวัดผลการดำเนินการ กำหนดผู้รับผิดชอบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กำหนดประเภทข้อมูลในการจัดเก็บ ออกแบบฐานข้อมูลในการจัดเก็บจัดเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน (ปี งปม. 2552) และข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ( )

74 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย เพื่อให้ส่วนราชการมีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ ฐานข้อมูลที่จัดเก็บต้องครอบคลุมข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ภารกิจหลักอื่นที่นอกเหนือคำรับรอง ตามโครงการสำคัญ (เช่น โครงการที่ได้รับงบประมาณสูง) ให้ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลปี 2552 และย้อนหลัง 3 ปี ระบบการจัดเก็บข้อมูลต้องระบุ แหล่งของข้อมูลของตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ความถี่ในการ Update ข้อมูล สามารถแสดงให้เห็นว่า มีระบบตรวจสอบข้อมูลให้มีความถูกต้อง (ก่อนนำเข้าและหลังนำเข้าเพื่อทวนสอบ) ระบบการจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบเดียวกัน (เช่น แบบฟอร์มการจัดเก็บ และแบบฟอร์มรายงาน)

75 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติม อย่างน้อย 2 กระบวนการ A แสดงระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ จำนวน 2 กระบวนการ แสดงระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า เพิ่มเติม อย่างน้อยจำนวน 2 กระบวนการ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ กำหนดผู้รับผิดชอบฐานข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่า คัดเลือกฐานข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่จะจัดเก็บในปี 2552 อีก 2 กระบวนการ update ฐานข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่าของปี 2551 ให้เป็นปัจจุบัน จัดเก็บข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติมของปี 2552 อย่างน้อย 2 กระบวนการ L รายงานผลการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 แสดงผลที่ RM8

76 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติม อย่างน้อย 2 กระบวนการ มีฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ให้ส่วนราชการตรวจสอบฐานข้อมูลที่แสดงไว้ตามหลักฐานที่ 27 ในปี 2551 และต้องมีการ update ข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ต้องมีฐานข้อมูลเพิ่มเติมอีก 2 กระบวนการ มีการจัดเก็บข้อมูลให้ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน และจัดเก็บ 3 ปี ย้อยหลังกรณีเป็นผลการดำเนินการต่อเนื่อง

77 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ A แสดงระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย จำนวน 2 กระบวนการ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ กำหนดผู้รับผิดชอบฐานข้อมูลกระบวนการสนับสนุน คัดเลือกฐานข้อมูลกระบวนการสนับสนุนที่จะจัดเก็บในปี กระบวนการ จัดเก็บข้อมูลกระบวนการที่สนับสนุนเพิ่มเติมของปี 2552 อย่างน้อย 2 กระบวนการ

78 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ มีฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ใช้วิธีการเช่นเดียวกับ CS2 แต่เป็นกระบวนการสนับสนุน มุ่งเน้นให้ส่วนราชการจัดทำฐานข้อมูลตามหลักเกณฑ์ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย

79 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม A แสดงรายการและรายละเอียดของข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนสามารถสืบค้นหรือขอข้อมูลได้ผ่านทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการระบบข้อมูลและสารสนเทศ (ช่องทาง) กำหนดผู้รับผิดชอบ ทบทวน/กำหนดช่องทางที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ติดตามผลเพื่อปรับปรุงช่องทางให้เหมาะสมอยู่เสมอ

80 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของส่วนราชการผ่านระบบเครือข่าย IT ส่วนราชการควรมีระบบสืบค้นข้อมูล เพื่อให้ส่วนราชการค้นหาได้สะดวก รวดเร็ว อาจมีรายการแสดงทั้งหมดที่แยกเป็นหมวดหมู่ เพื่อง่ายในการค้นหา สำหรับข้อมูลที่เปิดเผย ไม่ควรน้อยกว่าตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร หลักฐาน การแสดงหลักฐานสำหรับการตรวจประเมิน ส่วนราชการต้องสามารถแสดงการสืบค้น การเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้อย่างดี ซึ่งโดยปกติแล้วส่วนใหญ่ส่วนราชการมีระบบ แต่เข้าถึงยาก

81 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น A แสดงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) แสดงข้อมูลความถี่ และความเสียหายของภัยที่เคยเกิดขึ้น การจัดระบบการวัดผลให้มีความไวต่อการบ่งชี้ กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนดระบบการติดตามเฝ้าระวัง และเตือนภัย ติดตามผลจัดเก็บข้อมูลความถี่และความเสียหายของภัยที่เคยเกิดขึ้น จัดทำรายงานหรือนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริหารรับทราบ ปรับปรุงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น D แสดงการรายงานหรือนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริหารผ่านระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System : EIS) หรือระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) L แสดงรายละเอียดการปรับปรุงระบบการติดตามเฝ้าระวัง และเตือนภัยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิมที่เคยมีอยู่

82 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อให้ส่วนราชการมีระบบ warning system ของระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อทราบผลการดำเนินการและปรับเปลี่ยนได้อย่างทันท่วงที ต้องแสดงให้เห็นถึงตัวชี้วัดที่เลือกเก็บทั้งหมดอย่างเป็นระบบ (ต้องมีทั้ง leading และ lagging indicator) มีการแบ่งประเภทตัวชี้วัดตามความสำคัญที่ต้องมีการติดตาม และระยะเวลา (ความถี่) ในการจัดเก็บต้องให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกัน ตัวอย่าง warning system เช่น ระบบสัญญานไฟจราจร war room / operation room L : ต้องแสดงให้เห็นกระบวนการทบทวนระบบ warning system โดยแสดงให้เห็นก่อนและหลังการปรับปรุง ว่าปรับปรุงตรงไหนแล้วมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างไร

83 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ A แสดงระบบรักษาความมั่นคงและปลอดภัย (Security) ของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ แสดงรายละเอียดแผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนและภัยพิบัติที่อาจจะเกิดกับระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ (IT Contingency Plan) การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กำหนดผู้รับผิดชอบ วิเคราะห์ความเสี่ยงของระบบข้อมูลและสารสนเทศ จัดทำระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล รวมทั้งกำหนดรายละเอียดแผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนและภัยพิบัติ ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนและภัยพิบัติ D แสดงผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนและภัยพิบัติที่อาจจะเกิดกับระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ (IT Contingency Plan)

84 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ มีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ A : ส่วนราชการต้องมีแผนบริหารความเสี่ยงด้าน IT ครอบคลุม 4 ด้าน (ส่วนราชการทำใน SP7) แต่มาแสดงผลคุณภาพของการ implement ในหมวด 4 แสดงระบบ security ให้เห็น เช่น Anti-virus ไฟฟ้าสำรอง firewall แสดงแผน IT contingency Plan โดยพิจารณาคุณภาพของแผน รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมายกิจกรรม ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ

85 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ KPI : รหัส IT7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ A แสดงแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ ตามแนวทางที่กำหนด การจัดการความรู้ จัดตั้งคณะทำงานการจัดการความรู้ ประชุมคัดเลือกองค์ความรู้ จัดทำแผนการจัดการความรู้ เสนอแผนต่อผู้บริหาร ดำเนินการตามแผน ติดตามประเมินผลเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้า D รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรม และสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ แสดงผลที่ RM9

86 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
KPI : รหัส IT7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ มีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ ส่วนราชการต้องเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกันมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ กรณีส่วนราชการมีประเด็นยุทธศาสตร์ไม่ครบ 3 ประเด็น ให้พิจารณาจัดทำแผน 3 องค์ความรู้เช่นเดิม การเลือกองค์ความรู้มาจัดทำแผนไม่ควรซ้ำองค์ความรู้เดิม แต่ถ้าจำเป็นต้องซ้ำต้องแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างจากเดิมอย่างชัดเจน พร้อมทั้งระบุถึงเหตุผลและความจำเป็นในการเลือกเนื่องจาก จุดเน้น D : ส่วนราชการต้องแสดงหลักฐานหรือข้อมูลประกอบที่แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการนั้นครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

87 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อความคล่องตัว เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กรให้มีประสิทธิผล (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1 การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานรวมถึงการแจ้งผลเพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2 การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของ บุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรมให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1 การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2 การนำความต้องการ การอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3 การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1 แบบเป็นทางการ 12.2 แบบไม่เป็นทางการ (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรมมาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือขององค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน HR 3 HR 3 HR 4 HR 3 HR 2 HR 2 HR 3

88 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจแก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน ถูกสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย อุปกรณ์ให้มีความเหมาะสมในงาน การกำหนดตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของบุคลากร (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (62)20 การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจของบุคลากร 20.1 การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจบุคลากร ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ 20.2 การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR 1 HR 1 HR 1 HR 1

89 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
HR1 กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ ของบุคลากร OP3 บุคลากร SP5 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายองค์การสู่ระดับบุคคล HR2 ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน SP3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล HR3 ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล RM7 การพัฒนาบุคลากร HR4 ระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรม ความคุ้มค่าของการพัฒนาและฝึกอบรม HR5 การสร้างความก้าวหน้า ให้บุคลากร

90 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล KPI : รหัส HR1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ A มีกระบวนการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกความพึงพอใจของบุคลากร ประกอบด้วยปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจ และปัจจัยที่สร้างบรรยากาศในการทำงาน มีการจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจของบุคลากร มีแผนการสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร ที่สอดคล้องกับปัจจัยที่กำหนด การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ กำหนดผู้รับผิดชอบ ศึกษาผลการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากร ปี 51 วิเคราะห์และกำหนดปัจจัยที่ผลต่อความผาสุกความพึงพอใจของบุคลากร ด้านปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจและปัจจัยที่สร้างบรรยากาศในการทำงาน จัดลำดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจของบุคลากร จัดทำแผนการสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร ที่สอดคล้องกับปัจจัยที่กำหนด ดำเนินการตามแผนการสร้างความผาสุก และความพึงพอใจ กำหนดระบบ/วิธีการการประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ และการสร้างแรงจูงใจของบุคลากร สำรวจความพึงพอใจของบุคลากร และ สรุปข้อเสนอแนะในการปรับปรุงปีต่อไป D มีการดำเนินการตามแผนการสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร L มีระบบการประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ และการสร้างแรงจูงใจของบุคลากร เช่น การสำรวจความพึงพอใจ การกำหนดตัวชี้วัด เป็นต้น

91 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
KPI : รหัส HR1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ บุคลากรมีแรงจูงใจในการทำงานและมีความผูกพันต่อองค์การ จุดเน้น 3 เรื่อง คือ มีกระบวนการกำหนดปัจจัย มีการวิเคราะห์ปัจจัย มีการปรับปรุงปัจจัย ปัจจัยที่กำหนดต้องครอบคลุม ปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจ ปัจจัยที่สร้างบรรยากาศในการทำงาน กระบวนการกำหนดปัจจัย ส่วนราชการอาจนำผลการสำรวจปัจจัย ซึ่งเป็นหลักฐานปี 51 มาทบทวน หรือสำรวจใหม่ นำผลมาจัดลำดับความสำคัญ ดำเนินการจัดทำแผนสร้างความผาสุกฯที่สอดคล้องกับปัจจัยที่กำหนด นำแผนไปสู่การปฏิบัติ

92 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล KPI : รหัส HR2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น A มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทั่วทั้งองค์กร ระบบการประเมินผลและการสร้างแรงจูงใจ ทบทวนระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่กำหนด จัดลำดับผลการปฏิบัติงานของบุคลากร กำหนดวิธีการแจ้งผลการประเมินให้แก่บุคลากร กำหนดแนวทางในการจัดสรรแรงจูงใจทีเชื่อมโยงกับผลประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากร D บุคลากรทั่วทั้งองค์กรได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีการแจ้งผลการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร I มีการจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

93 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
KPI : รหัส HR2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่นำไปสู่การปรับปรุงการทำงาน ให้ส่วนราชการใช้แนวทางการประเมินผลตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ. ที่ใช้ในการเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี จุดมุ่งเน้นอยู่ที่การแจ้งผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทราบ ให้ส่วนราชการเก็บหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นว่ามีการแจ้งผล ซึ่งในแบบการแจ้งผลกลับต้องมีส่วนของข้อแนะนำให้บุคลากรปรับปรุงการปฏิบัติงานด้วย

94 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล KPI : รหัส HR3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ A มีแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปี 2552 มีแผนปฏิบัติการ (Action Plan) การบริหารทรัพยากรบุคคลของแผนงาน/โครงการปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 มีแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี 2552 การพัฒนาบุคลากร (สอดคล้องกับ SP3) จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) การบริหารทรัพยากรบุคคล มอบหมายผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนฯ สำรวจความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (ศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือการจัดทำ แผนฯ ตามแนวทาง HR Scorecard) D มีรายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ การบริหารทรัพยากรบุคคลประจำปี 2552 L มีการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร I การดำเนินการพัฒนาบุคลากรมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาบุคลากร แสดงผลที่ RM7

95 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
KPI : รหัส HR3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อให้บุคลากรมีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม เป็นการนำแผนที่กำหนดไว้ตาม SP2 มาสู่การปฏิบัติ ส่วนราชการต้องมี แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล มีแผนปฏิบัติการประจำปี มีแผนพัฒนาบุคลากร (มุ่งเน้นการพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร) ต้องมีการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรต่อภาพรวมของการพัฒนาบุคลากรขององค์กร (ไม่ใช่เพียงแค่การสำรวจความพึงพอใจที่ใช้วัดในการอบรมแต่ละครั้ง)

96 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล KPI : รหัส HR4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร A มีหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผลของการศึกษา อบรม กำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินการ กำหนดหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม กำหนดแนวทางในการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร ประกาศหลักเกณฑ์และแนวทาง ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติ ประเมินประสิทธิผลและความ D มีการนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวไปใช้ในการจัดฝึกอบรม L มีการประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร

97 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
KPI : รหัส HR4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณสำหรับการพัฒนาบุคลากร ส่วนราชการต้องจัดทำระบบคุณภาพภายในของการฝึกอบรมเพื่อให้มั่นใจว่าการฝึกอบรมจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ส่วนราชการกำหนด ข้อสังเกต ปัจจุบันยังไม่มีระบบประกันคุณภาพที่เป็นมาตรฐานกลาง ดังนั้น หลักเกณฑ์ต่างๆ ให้ส่วนราชการกำหนดขึ้นเองตามความเหมาะสม ในเรื่องนี้ ควรมุ่งเฉพาะการฝึกอบรมที่เพิ่มทักษะให้ผู้ที่ได้รับการอบรมไปแล้วสามารถปฏิบัติงานได้ ระบบการประกันคุณภาพการฝึกอบรม หมายถึง การกำหนดมาตรฐานการฝึกอบรมเพื่อให้การฝึกอบรมโครงการต่างๆมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมั่นใจว่าการฝึกอบรมมีคุณภาพ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการฝึกอบรม ควรครอบคลุมในเรื่องต่างๆ ดังนี้ เนื้อหาหลักสูตร ความเหมาะสมของผู้เข้ารับการอบรม คุณสมบัติของวิทยากร เทคนิคการฝึกอบรม สถานที่ใช้อบรม การวัดผลและประเมินผลการอบรม ส่วนราชการต้องมีการประเมินประสิทธิผลของการอบรม ซึ่งอาจดำเนินการได้หลายระดับ เช่น ประเมินการตอบสนองต่อการอบรม การประเมินความรู้ที่ได้รับ การประเมินการปฏิบัติ/การนำไปใช้งานภายหลังการอบรม การประเมินผลลัพธ์ที่ได้จากการอบรม ซึ่งขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการอบรมนั้นๆ เช่น บริการดีขึ้น คุณภาพงานดีขึ้น ต้นทุนลดลง ความผิดพลาดลดลง

98 ตัวอย่างหลักเกณฑ์การประกันการอบรม
หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม บทนำ เหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการกำหนดหลักเกณฑ์ และคำนิยามหรือขอบเขตของหลักสูตรการฝึกอบรมที่ต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดทำหลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ ให้กำหนดหลักเกณฑ์กลางที่จะใช้ร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึงวิธีการประเมินประสิทธิผลการอบรม เช่น เนื้อหาหลักสูตร เนื้อหาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และสามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนด ความเหมาะสมผู้เข้ารับการอบรม การจัดอบรมในรูปแบบการอภิปราย ต้องมีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 20 คน ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความรู้พื้นฐานหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรนั้นๆ คุณสมบัติของวิทยากร วิทยากรต้องเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ตรงกับหลักสูตรที่อบรม และต้องมีประสบการณ์ในด้านนั้นๆอย่างน้อย 5 ปี เทคนิคการฝึกอบรม ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีสัดส่วนของการบรรยาย และ Workshop เป็น 60:40 สถานที่ใช้อบรม การจัดสถานที่อบรมต้องให้เหมาะสมกับหัวข้อการอบรมหรือกิจกรรมที่ใช้ การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีการวัดผลความรู้ ความเข้าใจ ของผู้รับการอบรมก่อนเริ่มการอบรมทุกครั้ง (Pretest)

99 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล KPI : รหัส HR5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร A มีแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร การเตรียมบุคลากรและการสร้างความก้าวหน้าในงาน วิเคราะห์สมรรถนะของบุคลากร จัดทำแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร นำแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากรไปปฏิบัติ ประเมินผลการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร D มีการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร L มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร

100 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
KPI : รหัส HR5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร มีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ แผนการสร้างความก้าวหน้าจะมีความสัมพันธ์กับแผนพัฒนาขีดสมรรถนะหรือแผนพัฒนาบุคลากร ซึ่งการที่บุคลากรจะเติบโตในสายงานนั้น จะต้องได้รับการพัฒนาในเรื่องใดบ้างจึงจะสามารถขึ้นสู่ตำแหน่งที่กำหนดได้ แผนการสร้างความก้าวหน้าจะเป็นคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละส่วนราชการที่กำหนดเพิ่มเติมจากมาตรฐานที่ ก.พ. กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรเห็นภาพความก้าวหน้าของตนเองได้อย่างชัดเจน ซึ่งจะทำให้มีผลต่อการพัฒนาตนเอง ส่วนราชการอาจกำหนดแผนการสร้างความก้าวหน้าเฉพาะตำแหน่งที่สำคัญก่อนก็ได้

101 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลทั้ง 4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 5.1 การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 5.2 การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ 6.1 การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 6.2 การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลทั้ง 4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 11.1 การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 11.2 การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ 12.1 การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 12.2 การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM 1 PM 2 PM 3 PM 4-5 PM 4-5 PM 6 PM 6

102 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
OP1,2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ SP1 แผนยุทธศาสตร์ OP8 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM1 กำหนดกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) OP5 กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ ตัวชี้วัดของกระบวนการ องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ปัจจัยประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล การควบคุมค่าใช้จ่าย ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน PM3 ออกแบบกระบวนการ PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน และผลกระทบ HR3 พัฒนาบุคลากร PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน RM3,4 การดำเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน PM6 ปรับปรุงกระบวนการ OP14 แนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ

103 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ KPI : รหัส PM1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ A แสดงวิธีการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าซึ่งอย่างน้อยได้พิจารณาจาก ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดกระบวนการ กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนด/ทบทวนหลักเกณฑ์การคัดเลือกกระบวนการที่สร้างคุณค่า คัดเลือกกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว นำเสนอผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบ

104 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
KPI : รหัส PM1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ การกำหนดกระบวนที่สำคัญ ควรมีการกำหนดหลักเกณฑ์ในการกำหนดกระบวนการที่ชัดเจน ว่าส่งผลต่อการดำเนินการตามยุทธศาสตร์หรือไม่ อย่างน้อยหลักเกณฑ์ในการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า ต้องประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปัจจัยอื่นๆ ตามความเหมาะสมตามลักษณะพันธกิจ ข้อพึงระวัง กระบวนการหลักทั้งหมดไม่จำเป็นต้องเป็นกระบวนการสร้างคุณค่าก็ได้ เนื่องจากกระบวนการสร้างคุณค่าเป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งออกแบบกระบวนการหรือจัดสรรทรัพยากร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

105 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ KPI : รหัส PM2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า A มีการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าซึ่งอย่างน้อยได้พิจารณาจาก ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ กำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ประชุมระดมความเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่า กำหนดตัวชี้วัดจากข้อกำหนดที่สำคัญของแต่ละกระบวนการ นำเสนอผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบ สื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานรับทราบเพื่อนำไปปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญและตัวชี้วัดที่กำหนด จัดทำรายงานติดตามผลของตัวชี้วัดกระบวนการเพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการ D การนำข้อกำหนดของกระบวนการไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า L มีการติดตามผลของตัวชี้วัดของกระบวนการ เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการ

106 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
KPI : รหัส PM2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า กำหนดข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ส่วนราชการต้องนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 ปัจจัย มาเป็นองค์ประกอบในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ คือ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน ข้อพึงระวัง การดำเนินการตาม PM2 ต้องให้เจ้าของกระบวนการเข้ามามีส่วนร่วมในการ กำหนดข้อกำหนดที่สำคัญ กำหนดตัวชี้วัดกระบวน ออกแบบกระบวนการ จึงจะประสบความสำเร็จ

107 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ KPI : รหัส PM3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญมาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนอย่างต่อเนื่อง A แสดงข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าและชี้ให้เห็นว่านำมาออกแบบกระบวนการเพื่อให้บรรลุข้อกำหนดที่สำคัญอย่างไร การออกแบบกระบวนการที่สร้างคุณค่าได้นำปัจจัยที่สำคัญมาใช้ประกอบ อย่างน้อย 2 ปัจจัยต่อไปนี้ องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพและประสิทธิผล การออกแบบกระบวนการ กำหนดผู้รับผิดชอบ ออกแบบ/ทบทวนการออกแบบกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากข้อกำหนดที่สำคัญ และปัจจัยที่สำคัญ สื่อสารสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการและนำไปปฏิบัติ วางระบบการตรวจสอบกระบวนการเพื่อวิเคราะห์หาจุดที่ควรปรับปรุง ติดตามผลการดำเนินการของกระบวนการ D มีการสื่อสารสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการและการนำไปปฏิบัติ L มีการตรวจสอบกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพื่อวิเคราะห์หาจุดที่ควรปรับปรุง โดยการศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ หรือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกันของผู้ปฏิบัติงาน

108 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
KPI : รหัส PM3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญมาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การออกแบบกระบวนการที่สร้างคุณค่าต้องนำปัจจัยที่กำหนดไว้มาใช้ในกระบวนการออกแบบ ต้องสร้างระบบการควบคุมกระบวนการ ต้องสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ การออกแบบหมายถึงการกำหนดขั้นตอนของกระบวนงานที่ชัดเจน

109 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ KPI : รหัส PM4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง A แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน การรองรับต่อภาวะฉุกเฉิน (Keep Current) กำหนดผู้รับผิดชอบ จัดประชุมเพื่อจัดทำแผนสำรองฉุกเฉิน นำเสนอผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบ สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบแนวทางปฏิบัติ จัดประชุมเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ D สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

110 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
KPI : รหัส PM4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ส่วนราชการส่วนใหญ่มีแผนสำรองฉุกเฉินแต่ขาดการสื่อสารให้คนในองค์กรรับทราบ ซึ่งผู้ตรวจประเมินจะสอบถามถึงการสื่อสารแผนสำรองดังกล่าว ส่วนราชการต้องมีการนำแผนสำรองฉุกเฉินมาทบทวน ให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ

111 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ KPI : รหัส PM5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ A แสดงรายชื่อกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนที่ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหาร คัดเลือกกระบวนการที่สร้างคุณค่าไม่น้อยกว่า 50% และกระบวนการสนับสนุนไม่น้อยกว่า 50% มาจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงานอย่างน้อยควรประกอบด้วย Work Flow และมาตรฐานคุณภาพงาน การจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานและการนำไปปฏิบัติ กำหนดผู้รับผิดชอบ ประชุมคัดเลือกกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนที่จะนำมาจัดทำมาตรฐานงานในปี 2552 (กระบวนการละ 50%) จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (อย่างน้อย คือ Work Flow และ มาตรฐานคุณภาพงาน) เผยแพร่มาตรฐานงานให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบและนำไปปฏิบัติ พัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานงานที่กำหนดได้ จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานเพื่อปรับปรุงกระบวนการ D แสดงวิธีการที่ส่วนราชการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติ โดยการเผยแพร่มาตรฐาน การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน การมีระบบติดตามมาตรฐานงานเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด L มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานเพื่อการปรับปรุงกระบวนการ I มีการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรือ มีระบบต่าง ๆ ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามข้อกำหนดของกระบวนการ

112 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
KPI : รหัส PM5 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ เพื่อให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงานอันจะนำไปสู่การบรรลุข้อกำหนดที่สำคัญ A : กำหนดให้ส่วนราชการคัดเลือกกระบวนงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของแต่ละกระบวนการมาจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ชื่อกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่กำหนดไว้ใน PM1 จะต้องนำมาจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานครึ่งหนึ่ง ซึ่งหากส่วนราชการใดมีกระบวนการย่อยภายใต้แต่ละชื่อของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจะต้องมีมาตรฐานงานของกระบวนการย่อยภายใต้กระบวนการใหญ่ที่ครอบคลุมด้วย กระบวนการสนับสนุนร้อยละ 50 หมายถึงกระบวนการสนับสนุนที่ได้กำหนดไว้ในปีงบประมาณ 2551 กรณีที่มีการทบทวนกระบวนการใหม่ให้แสดงหลักฐานการทบทวนกระบวนการด้วย คู่มือการปฏิบัติงานต้องประกอบด้วย Workflow มาตรฐานงาน หรือมาตรฐานคุณภาพงาน (ข้อกำหนดเชิงคุณภาพ)

113 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ KPI : รหัส PM6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ A แนวทาง/ วิธีการที่แสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงกระบวนการ แนวทาง/วิธีการในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และลดการสูญเสีย เช่นการบริหารความเสี่ยงของกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น กำหนดผู้รับผิดชอบ ศึกษาวิเคราะห์เพื่อจัดทำแนวทาง/วิธีการในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และลดความสูญเสียในการปฏิบัติงาน สื่อสารให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบ ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการที่สำคัญบางกระบวนการ จัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทบทวนกระบวนการ D วิธีการสื่อสารมาตรฐานการปฏิบัติงานให้บุคลากรเกี่ยวข้องทราบ เช่น การประชุม บันทึกเวียน website กิจกรรม/ โครงการในการปรับปรุงกระบวนการ(ยกตัวอย่างกระบวนการที่ได้ปรับปรุง) L หลักฐานการทบทวนกระบวนการ เช่น การประชุมคณะทำงาน การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทบทวนกระบวนการ

114 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
KPI : รหัส PM6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ ให้มีการปรับปรุงผลการดำเนินการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงตัวอย่างการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าอย่างน้อย 1 กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 1 กระบวนการ ต้องแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า สามารถทำให้ผลการดำเนินการดีขึ้น ป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ

115 หมวด 7 ผลลัพธ์ 7.1 7.2 7.3 7.4 มิติด้านประสิทธิผล
SP4 การนำยุทธศาตร์ไปปฏิบัติ 7.1 มิติด้านประสิทธิผล RM1 ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 7.2 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.3 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM2 ตัวชี้วัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนด้ส่วนเสีย RM3,4 ตัวชี้วัดการดำเนินการตามมาตรฐานเวลา (หลักฐาน 39,40) RM5 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายงบประมาณ RM6 ตัวชี้วัดการบริหารความเสี่ยง CS 7,8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ RM7 ตัวชี้วัดการพัฒนาบุคลากร RM8 ตัวชี้วัดฐานข้อมูล RM9 ตัวชี้วัดการจัดการความรู้ RM10 ตัวชี้วัดนโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี PM1 กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน LD5 การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD7 ความรับผิดชอบต่อสังคม LD6 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง SP7 แผนบริหารความเสี่ยง HR3 การพัฒนาบุคลากร IT1,2,3,4,5 ระบบฐานข้อมูล IT7 การจัดการความรู้ LD5 การดำเนินโครงการกำกับดูแลตนเองที่ดี

116 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิผล รหัส RM1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามเป้าหมาย Le การวัดผลความสำเร็จของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามเป้าหมาย จะพิจารณาจากร้อยละค่าเฉลี่ยจากผลการดำเนินงานที่ปฏิบัติได้จริง ตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ของส่วนราชการ เปรียบเทียบกับแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทั้งหมด ที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัดมิติที่ 1 : มิติประสิทธิผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตามตัวชี้วัดในมิติด้านประสิทธิผล ตามคำรับรอง มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุงต่าง ๆและ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้*

117 หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิผล รหัส RM1
ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามเป้าหมาย แสดงผลสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ กรมใช้ผลจากตัวชี้วัดที่ 3.1 ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัดใช้ผลจากตัวชี้วัดที่ 1.2 ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

118 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ รหัส RM2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ Le ส่วนราชการต้องแสดงผลตัวชี้วัดความก้าวหน้า การปรับปรุงและประเมินผลการดำเนินงานด้านการมุ่งเน้นผู้รับบริการ เพื่อแสดงให้เห็นว่าองค์กรทำให้ผู้รับบริการพึงพอใจและทำให้ผู้รับบริการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุง ต่าง ๆและ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้*

119 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ รหัส RM2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ แสดงผลคุณภาพการให้บริการ ใช้ผลตามตัวชี้วัดที่ 4 ของคำรับรอง ซึ่งสำรวจโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ กรณีที่เป็นหน่วยงานนโยบายและได้ขอเปลี่ยนเป็น “ระดับความเชื่อมั่น” ให้ใช้ผลของตัวนี้แทน กรณีที่มีการสำรวจความพึงพอใจเอง ไม่สามารถนำผลมาแสดงใน RM2 ได้ เนื่องจากต้องใช้ผลของหน่วยงานกลาง ยกเว้นกรณีที่สำนักงานสถิติแห่งชาติไม่ได้ดำเนินการ

120 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของ กระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการ ที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2551 หลักฐานที่ 39) Le เป็นการตรวจประมินผลลัพธ์ของการดำเนินการด้านการปฏิบัติการที่สำคัญขององค์กรเพื่อให้องค์กรบรรลุประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบงานและกระบวนการทำงาน โดยจะพิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจำนวน 2 กระบวนการที่ส่วนราชการได้จัดทำขึ้นซึ่งเป็นหลักฐานสำคัญตามหมวด 6 รายการหลักฐานที่ 39 ที่กำหนดไว้ในคู่มือคำอธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตามมาตรฐานของคู่มือการปฏิบัติงาน ตามหลักฐานที่ 39 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน

121 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM3 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของ กระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการ ที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2551 หลักฐานที่ 39) แสดงผลการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานตามที่กำหนด ส่วนราชการจะต้องมอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูลของมาตรฐานงานที่ได้กำหนดไว้ในคู่มือการปฏิบัติงานปี 2551 ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานงานที่กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด 4 กระบวนการ สิ่งสำคัญ : การเก็บหลักฐานที่ดำเนินการตามมาตรฐานงานเพื่อนำแสดงต่อผู้ตรวจประเมินรอบ 12 เดือน ณ ส่วนราชการ

122 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2551 หลักฐานที่ 40) Le เป็นการตรวจประมินผลลัพธ์ของการดำเนินการด้านการปฏิบัติการที่สำคัญขององค์กรเพื่อให้องค์กรบรรลุประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบงานและกระบวนการทำงานการพิจารณาดำเนินการ โดยจะพิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน จำนวน 2 กระบวนการ ที่ส่วนราชการได้จัดทำขึ้น ซึ่งเป็นหลักฐานสำคัญตามหมวด 6 รายการหลักฐานที่ 40 ที่กำหนดไว้ในคู่มือคำอธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตามมาตรฐานของคู่มือการปฏิบัติงานตามหลักฐานที่ 40 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน

123 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM4 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2551 หลักฐานที่ 40) แสดงผลการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานตามที่กำหนด ส่วนราชการจะต้องมอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูลของมาตรฐานงานที่ได้กำหนดไว้ในคู่มือการปฏิบัติงานปี 2551 ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานงานที่กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด 4 กระบวนการ สิ่งสำคัญ : การเก็บหลักฐานที่ดำเนินการตามมาตรฐานงานเพื่อนำแสดงต่อผู้ตรวจประเมินรอบ 12 เดือน ณ ส่วนราชการ

124 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM5-1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (กรณีส่วนราชการมีงบลงทุน) Le การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน จะใช้อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนของส่วนราชการของปีงบประมาณ พ.ศ ทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของส่วนราชการทั้งนี้ ไม่รวมงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตามตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/รายจ่ายในภาพรวม T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุงต่างๆ และ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* KPI 8

125 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM5-1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (กรณีส่วนราชการมีงบลงทุน) แสดงผลการใช้จ่ายงบประมาณ ใช้ผลตามตัวชี้วัดที่ 8 ของคำรับรองกรม

126 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM5-2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (กรณีส่วนราชการไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุนจะพิจารณาจากงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม) Le การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ จะใช้อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายในภาพรวมของส่วนราชการในปีงบประมาณ พ.ศ ทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของส่วนราชการ ทั้งนี้ ไม่รวมงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตามตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/รายจ่ายในภาพรวม T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุงต่างๆ และ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* KPI 8

127 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM5-2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (กรณีส่วนราชการไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุนจะพิจารณาจากงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม) แสดงผลการใช้จ่ายงบประมาณ ใช้ผลตามตัวชี้วัดที่ 8 ของคำรับรองกรม

128 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง Le การพิจารณาผลสำเร็จของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง จะพิจารณาจากร้อยละค่าเฉลี่ยจากผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงที่ปฏิบัติได้จริง เปรียบเทียบกับแผนบริหารความเสี่ยงที่กำหนดไว้ ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตาม SP7 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุงต่าง ๆ และ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* Risk Management

129 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รหัส RM6 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง แสดงผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ใช้แนวทางการตรวจของ TRIS ซึ่งพิจารณาจาก ผลสำเร็จของแผน คุณภาพของการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง หลักฐาน หลักฐานการวิเคราะห์

130 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร Le ตัวชี้วัดของการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ให้นำผลจากหมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลหัวข้อ 5.2 ก การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจมาแสดง โดยจะพิจารณาจากร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร ซึ่งเป็นหลักฐานสำคัญตามหมวด 5 รายการหลักฐานที่ 36 ที่กำหนดไว้ในคู่มือคำอธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร (หลักฐานที่ 36) มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุงต่างๆ และ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้*

131 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM7 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร แสดงผลการพัฒนาบุคลากร ส่วนราชการต้องเก็บหลักฐานการพัฒนาบุคลากร

132 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM8.1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ Le การพิจารณาดำเนินการตาม RM8 กรณีของส่วนราชการ ให้ยึดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 4 (Fundamental Level) (IT1) มาประกอบการพิจารณาดำเนินการ การพิจารณาความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์นั้นให้ส่วนราชการ จัดทำระบบฐานข้อมูลรองรับอย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ให้ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย เพื่อใช้วางแผนการดำเนินการ และใช้ในการตัดสินใจการบริหารงาน ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตาม IT1 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน ICT

133 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM8.1 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ แสดงผลการจัดการข้อมูลสารสนเทศ ใช้แนวทางการตรวจของ TRIS มุ่งเน้นประเด็น ความครอบคลุม ความถูกต้อง ความทันสมัย

134 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM8.2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงาน ที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ(statXchange) โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) Le ร้อยละ 60 ของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำ นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) ร้อยละ 65 ของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำ นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) ร้อยละ 70 ของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำ นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) ร้อยละ 75 ของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำ นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) ร้อยละ 80 ของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำ นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) พิจารณาตาม IT1 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน ICT

135 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM8.2 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงาน ที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ(statXchange) โดยหน่วยงานเจ้าของข้อมูลและสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)และหน่วยงานได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) แสดงผลความสำเร็จของการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ ใช้ผลที่นำมาจากตัวชี้วัดของสำนักงานสถิติแห่งชาติ

136 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM9 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม ตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ Le การพิจารณาดำเนินการตาม RM9 กรณีของส่วนราชการ ให้ยึดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 4 (Fundamental Level) (IT7) มาประกอบการพิจารณาดำเนินการ ส่วนราชการเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นในประเด็นยุทธศาสตร์ใดก็ได้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้(ประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 องค์ความรู้) มาจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้ โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่าง ๆ พร้อมระบุตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม ตลอดจนระบุระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ และนำแผนการจัดการความรู้ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตาม IT7 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน T ส่วนราชการมีการรายงานถึงการปรับปรุงต่าง ๆ และ/หรือมีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง โดยสามารถแสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* Knowledge Management

137 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM9 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม ตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ แสดงผลความสำเร็จของการจัดการความรู้ ใช้แนวทางการตรวจของ TRIS

138 การดำเนินการที่ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านประสิทธิผล รหัส RM10 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วน กิจกรรม/ขั้นตอน ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ Le การพิจารณาร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ให้ส่วนราชการพิจารณาจากเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) หมวด 1 (LD5) มาใช้ประกอบการดำเนินการ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประกอบด้วย นโยบายด้านต่าง ๆ 4 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม (2) ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (3) ด้านองค์การ และ (4) ด้านผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งหมายความว่าส่วนราชการจะต้องมีโครงการอย่างน้อย 4 โครงการ มาใช้ในการพิจารณาคิดค่าร้อยละความสำเร็จของโครงการ ส่วนราชการมีการแสดงความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้* พิจารณาตาม LD5 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูลและหลักฐานของตัวชี้วัดทุกตัว เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกตรวจ รอบ 12 เดือน

139 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
หมวด 7 ผลลัพธ์ มิติด้านการพัฒนาองค์กร รหัส RM10 ผู้รับผิดชอบ : แนวทาง การดำเนินการ วัตถุประสงค์ ประเด็นสำคัญ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ แสดงผลความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ส่วนราชการต้องเก็บหลักฐานความสำเร็จของโครงการ 4 โครงการ ที่จะแสดงให้เห็นว่าแต่ละโครงการมีร้อยละความสำเร็จเป็นอย่างไร


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google