การเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
ระบบการค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยและสปป.ลาว
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
เศรษฐกิจของประเทศไทย
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลกระทบของการเปิดตลาดการค้าเสรีอาเซียน(AFTA) ต่อพืชปาล์มน้ำมัน
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
การลดภาษีของออสเตรเลีย
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
FTA : ลู่ทางการส่งออกไป ออสเตรเลีย จีน อินเดีย
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิกฤต หรือโอกาสต่อภาคปศุสัตว์ไทย
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
1 วิจารณ์ผลการศึกษา โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า เพื่อเสนอแนะมาตรการ ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ รศ. ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ คณะเศรษฐศาสตร์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
สินค้าเกษตรและอาหาร ที่สำคัญในตลาดอาเซียน
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
Welcome.
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) วีระชัย นาควิบูลย์วงศ์ รองเลขาธิการ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 2009 © ALRO

การเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ประเทศไทยจะต้องลดภาษีสินค้าลงเหลือ ร้อยละ 0 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ตามข้อตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (สินค้า 23 รายการ) ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว 3 ชนิด คือ มันฝรั่ง เนื้อมะพร้าวแห้ง และเมล็ดกาแฟ ซึ่งจะลดภาษีลงเหลือ ร้อยละ 5 10 ประเทศ สมาชิกอาเซียน *********** อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา 2009 © ALRO

ประเทศไทยมีสินค้าที่ผูกพันตามข้อตกลง จำนวน 23 รายการ ( ปี 2553) 1. น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง 2. นมผงขาดมันเนย 3. ลำไยแห้ง 4. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5. กระเทียม 6. หอมหัวใหญ่ 7. เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ 8. มันฝรั่ง 9. พริกไทย 10. ข้าว 11. เมล็ดถั่วเหลือง 12. กากถั่วเหลือง 13. น้ำมันถั่วเหลือง 14. น้ำมันปาล์ม 15. มะพร้าวผล 16. น้ำมันมะพร้าว 17. เนื้อมะพร้าวแห้ง 18. ชา 19. เมล็ดกาแฟ 20. กาแฟสำเร็จรูป 21. ไหมดิบ 22. น้ำตาล (อ้อย) 23. ใบยาสูบ 2009 © ALRO

รายการสินค้าอ่อนไหวและอ่อนไหวสูง (Sensitive List: SL) สินค้าอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List: HSL) ไทย กาแฟ มันฝรั่ง เนื้อมะพร้าวแห้ง ไม้ตัดดอก -ไม่มี- บรูไน กาแฟ ชา -ไม่มี- พม่า ถั่ว กาแฟ น้ำตาล ไหม ฝ้าย -ไม่มี- กัมพูชา เนื้อไก่ ปลามีชีวิต ผักผลไม้บางชนิด พืชบางชนิด -ไม่มี- ฟิลิปปินน์ สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อสุกร ไก่ มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าว ลาว สัตว์มีชีวิต เนื้อโคกระบือ สุกร ไก่ ผักผลไม้บางชนิด ข้าว ยาสูบ -ไม่มี- มาเลเซีย สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อสุกร ไก่ ไข่ พืชบางชนิด ผลไม้บางชนิด ยาสูบ ข้าว เวียดนาม สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อไก่ ไข่ พืชบางชนิด เนื้อสัตว์ปรุงแต่ง น้ำตาล -ไม่มี- อินโดนีเซีย - ไม่มี - ข้าว น้ำตาล สิงคโปร์ - ไม่มี - -ไม่มี- 2009 © ALRO

ลำดับการลดการกีดกันทางการค้าของประเทศไทย 2535 (1992) 2546 (2003) 2553 (2010) 2558 (2015) ลดภาษีเหลือ 0-5%* ลดภาษีเหลือ 0%* ยกเลิกมาตรการจำกัดปริมาณ ยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี * ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว และ อ่อนไหวสูง 2009 © ALRO

ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเขตการค้าเสรี กลุ่มสินค้าที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบเชิงลบ ปริมาณสินค้านำเข้าที่มีราคาต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับไทย จะไหลเข้าประเทศ อาจส่งผลให้มีปัญหาอุปทานล้นตลาดและกดดันให้ราคาสินค้าภายในประเทศลดลง สินค้าที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ ประกอบด้วย ข้าว ชา เมล็ดกาแฟ มะพร้าวผล เนื้อมะพร้าวแห้ง น้ำมันมะพร้าว เมล็ดถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปาล์มน้ำมัน พริกไทย กระเทียม มันฝรั่ง และยาสูบ กลุ่มสินค้าที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบเชิงบวก ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมแปรรูป และเป็นสินค้าที่ไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ บางชนิดมีการปรับโครงสร้างการผลิตไปบ้างแล้วจากการทำ FTA กับประเทศอื่นนอกอาเซียน สินค้าที่คาดว่าจะได้ประโยชน์ ประกอบด้วย น้ำนมดิบ นมปรุงแต่ง นมผงขาดมันเนย น้ำตาล ลำไยแห้ง ไหมดิบ หอมหัวใหญ่ และเมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ 2009 © ALRO

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อเกษตรกร การลดการปกป้องเกษตรกรไทย เนื่องจากการลดภาษีนำเข้า ในขณะที่ ประเทศคู่ค้าบางประเทศยังชะลอการลดกำแพงภาษี ปัญหาราคาผลผลิตภายในประเทศตกต่ำ เนื่องจากการไหลเข้าของสินค้านำเข้าส่งผลให้อุปทานในตลาดภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น ปัญหาคุณภาพของผลผลิตที่นำเข้ามา เช่น การปนเปื้อนของสินค้า GMOs ปัญหาโรคแมลงที่มากับสินค้านำเข้า การปนเปื้อนของเมล็ดวัชพืช 4. ปัญหาจากความไม่พร้อมในการแข่งขันของเกษตรกร เนื่องจาก ปัญหาที่ดินทำกิน เช่น การขาดแคลนที่ดินทำกิน ความสมบูรณ์ของดิน ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตต่อไร่ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในบางสินค้า การขาดการจัดการบริหารที่ดี ปัญหาความคลาดเคลื่อนของข้อมูลทางเศรษฐกิจของภาครัฐ การขาดการรับรู้และมีส่วนร่วมของเกษตรกร 2009 © ALRO

มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี การใช้นโยบายในการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร นโยบายและมาตรการของภาครัฐ มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี 1. มาตรการควบคุมการนำเข้า การกำหนดคุณสมบัติผู้นำเข้า การกำหนดชนิดสินค้าที่นำเข้า เช่น การพิจารณา ชนิดของข้าวที่อนุญาตให้นำเข้า การกำหนดระยะเวลาในการนำเข้า การกำหนดด่านที่นำเข้า การกำหนดวัตถุประสงค์ในการนำเข้า เช่น การ นำเข้าเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต การควบคุมและตรวจสอบเส้นทางของสินค้า นำเข้า 2. มาตรการควบคุมมาตรฐานสินค้าและ สุขอนามัย การควบคุมสินค้าให้มีมาตรฐานคุณภาพ เช่น มาตรฐาน สินค้าข้าวตามมาตรฐาน GAP การควบคุมสินค้าให้มีใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าให้ ถูกต้องตามกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิด (Rules of Origin) การควบคุมสินค้าให้มีใบรับรองเป็นสินค้าปลอดการตัด แต่งทางพันธุวิศวกรรม (Genetically Modified Organisms : GMOs) การควบคุมปริมาณสารพิษตกค้าง การควบคุมสินค้าตามมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัย พืช (Sanitary and Phytosanitary Measures : SPS) การใช้นโยบายในการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร 1. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของเกษตรกร การให้ความช่วยเหลือด้านโครงสร้าง พื้นฐาน เช่น ระบบชลประทาน การพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร เพื่อเพิ่ม คุณภาพของผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า เช่น การทำข้าว บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) การลดดอกเบี้ยเงินกู้ สร้างกระบวนการสื่อสารของผู้ผลิต และวางแผน การผลิตที่สอดคล้อง การสนับสนุนให้เกษตรกรรวมกลุ่มเป็นองค์กรเพื่อ เพิ่มพลังในการต่อรอง โดยสร้างความร่วมมือ กับภาครัฐ การเจรจาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านให้มีการ ทำการค้าร่วมกัน แล้วนำผลประโยชน์ที่ได้มาให้แก่ เกษตรกร 2. การจัดตั้งกองทุนสนับสนุนการเพิ่มศักยภาพ กองทุน FTA กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ 2009 © ALRO

พืชเศรษฐกิจสำคัญในเขตปฏิรูปที่ดิน พื้นที่ ส.ป.ก.ร้อยละ 97.28 อยู่นอกเขตชลประทาน ดินเสื่อมโทรม พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญในเขต ส.ป.ก. (เฉพาะพืชหลัก) ภาค เนื้อที่ (ไร่) ข้าว ข้าวโพด ปาล์มน้ำมัน ลำไย ยางพารา มันสำปะหลัง อ้อย กาแฟ มะพร้าว เหนือ 2,051,890 1,990,841 247 238,833 113,431  928,592 922,732 453 133 กลาง 1,062,973 687,939 138,028 61,585 628,067 1,555,099  1,142,567 94 97,665 อีสาน 10,107,511 898,254 15,455 26,525 891,789  2,804,388 1,899,371 - 514 ใต้ 40,098 1,038,883 3,707,237  -  162,484 12,005 รวม 13,262,472 3,577,033 1,192,612 326,943 5,340,523 5,288,079 3,964,670 163,031 110,316 ( ) ที่มา: GIS ส.ป.ก. 2552 (ข้อมูลจากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมจากกรมพัฒนาที่ดิน ณ ปี 2550) 2009 © ALRO

2009 © ALRO