การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
Chapter 3 Interpolation and Polynomial Approximation
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การหาปริพันธ์ (Integration)
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแปรผันตรง (Direct variation)
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การแยกตัวประกอบพหุนาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ซุปเปอร์แมน s ตอน สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกู้โลก.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ความชันและสมการเส้นตรง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การคูณและการหารเอกนาม
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง

การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง สมการกำลังสอง ( Quadratic Equations ) คือ สมการพหุนาม ซึ่งมีตัวแปรในพจน์ใดพจน์หนึ่งที่ยกกำลังสอง เช่น 1. x2 - 3x + 2 = 0 2. x2 - 4 = 0 3. 5x2 - 2x = 0 4. 3x2 - 7x = 20 รูปทั่วไปของสมการกำลังสอง คือ โดย a, b และ c เป็นค่าคงตัว และ a ไม่เท่ากับ 0 โดยมี x เป็นตัวแปร เมื่อแยกตัวประกอบแล้ว สามารถแก้สมการหาค่าตัวแปรได้จากสมการนั้น

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า y ของสมการ y2 – 8y + 12 = 0 วิธีทำ (y – 2) (y – 6) = 0 นั่นคือ y - 2 = 0 หรือ y – 6 = 0 แก้สมการแบบเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้คือ y = 2 หรือ y = 6 ดังนั้น y = 2 และ 6 ตอบ

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าตัวแปรของสมการ 4x2 = 10 - 3x วิธีทำ 4x2+3x-10 = 0 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้คือ 4x - 5 = 0 หรือ x + 2 = 0 4X = 5 หรือ x = - 2 X = ดังนั้น x = และ - 2 ตอบ

ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ 6x2 – x - 12 = 0 นั่นคือ 3x + 4 = 0 หรือ 2x - 3 = 0 แก้สมการแบบเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้คือ 3x = - 4 หรือ 2x = 3 X = X = ดังนั้น X = และ ตอบ

ตอบ ตัวอย่างที่ 4 จงแก้สมการ -6x2 + 12x = 6 วิธีทำ -6x2 + 12x – 6 = 0 นำ -6 หารทั้งสองข้างจะได้ x2 - 2x + 1 = 0 (x – 1) (x -1) = 0 แก้สมการแบบเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้คือ x = 1 หรือ x = 1 ดังนั้นคำตอบของสมการคือ 1 ตอบ

ตอบ ตัวอย่างที่ 5 จงแก้สมการ 4.5y2 – 6y = 6 วิธีทำ 4.5y2 – 6y – 6 = 0 แก้สมการแบบเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้คือ 3y + 2 = 0 หรือ y - 2 = 0 3y = -2 y = 2 y = ดังนั้นคำตอบของสมการคือ 2 และ ตอบ