The Conflict News Reporting of Stringer in Southernmost of Thailand

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
การค้ามนุษย์.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
รหัสวิชา สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของผู้สื่อข่าวท้องถิ่น The Conflict News Reporting of Stringer in Southernmost of Thailand ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา อาจารย์ประจำสาขานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ที่มาและความสำคัญของปัญหา เหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ วันที่ 4 ม.ค.47-มี.ค.52 มีผู้เสียชีวิตแล้ว 3,418 คน บาดเจ็บ 8,810 ครั้ง1 1 ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี.2552. สถานการณ์ใหม่ชายแดนใต้ : ความเสี่ยงในการถูกรุกกลับทางการทหาร และตรึงกำลังในทางการเมือง (ออนไลน์) สืบค้นจาก www.deepsouthwatch.org/node/17

ที่มาและความสำคัญของปัญหา บทบาทของสื่อมวลชนต่อสถานการณ์ความไม่สงบ งานวิจัยเรื่อง ผลกระทบของการสื่อสารมวลชน : ทัศนคติของประชาชนในเขต 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ต่อการนำเสนอข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบ งานวิจัยเรื่อง สื่อเพื่อสันติภาพ: จริยธรรม การจัด การและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

ศ.นพ.ประเวศ วะสี (2547) กล่าวว่า สื่อมวลชนไทยไม่มีความเข้าใจเหตุการณ์ในจังหวัด ชายแดนภาคใต้และมีทัศนคติแบบสื่อมวลชนตะวัน ตก มองเหตุการณ์ชายแดนใต้เชื่อมโยงกับการก่อ การร้ายในภูมิภาคตามกรอบคิดของสื่อมวลชนตะ วันตก สถานการณ์ดังกล่าวเป็นเสมือนการทับถมความ ทุกข์ยากของชาติพันธุ์มลายู ทำให้ชาวมุสลิมตก เป็นจำเลยของสังคมมากขึ้น สื่อมวลชนไทยควรหันมาทบทวน ตรวจสอบตนเอง เพื่อสนับสนุนความปรองดองของชาติ

ไม่ไว้วางใจหนังสือพิมพ์ ร้อยละ 54 แต่ไว้วางใจ ร้อยละ 36 งานวิจัยร่วมระหว่างนักวิชาการรัฐศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี กับมหาวิทยาลัยมิสซิสซิปปี้ สหรัฐอเมริกา ระบุว่า ความไว้วางใจของประชาชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ไว้วางใจหนังสือพิมพ์ ร้อยละ 54 แต่ไว้วางใจ ร้อยละ 36 ไม่ไว้วางใจสื่อโทรทัศน์ ร้อยละ 42 แต่ไว้วางใจเพียง 47

 ตอกลิ่มความเกลียดกลัว  แบ่งเขาแบ่งเรา  ความไม่ไว้วางใจระหว่างกัน ข้อกล่าวหาที่มีต่อสื่อที่นำเสนอข่าวสถานการณ์ความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ :  ขยายความขัดแย้ง  ตอกลิ่มความเกลียดกลัว  แบ่งเขาแบ่งเรา  ความไม่ไว้วางใจระหว่างกัน ทำให้อยากรู้ว่า ในฐานะผู้ส่งสารลำดับแรกในกระบวนการสื่อข่าว เหตุการณ์ความไม่สงบ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นมีกระบวนการทำงาน อย่างไร...

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการสื่อข่าว (News Reporting Process) สถานการณ์ความไม่สงบของผู้สื่อข่าว ท้องถิ่น เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของ การสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของผู้สื่อข่าว เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้สื่อข่าวท้องถิ่นในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ต่อแนวคิดการสื่อข่าวเพื่อสันติภาพ (Peace Journalism)

ระเบียบวิธีวิจัย จังหวัดละ 4 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัดละ 4 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มีเกณฑ์การเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ ทำงานข่าวในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ไม่ต่ำกว่า 5 ปี การเก็บข้อมูลวิจัย วิธีการเก็บข้อมูล คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) เครื่องมือเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-Structured Interview Form)

ระยะเวลาการเก็บข้อมูลเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์ 2552 การวิเคราะห์ข้อมูล  เมื่อได้ข้อมูลมาแล้ว ผู้วิจัยดำเนินการถอดเทป แบ่ง ประมวล ข้อมูลตามวัตถุประสงค์การวิจัย กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบ ปัญหา ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะเพื่อการ พัฒนาทางวิชาชีพ ทัศนคติต่อแนวคิดการสื่อข่าวเพื่อสันติภาพ ระยะเวลาการเก็บข้อมูลเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์ 2552

ผลการวิจัย การสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของผู้สื่อข่าวท้องถิ่น The Conflict News Reporting of Stringer in Southernmost of Thailand

ประเด็นของความเปลี่ยนแปลงของการสื่อข่าวในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ช่วงก่อน-หลัง วันที่ 4 ม.ค.2547 เหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็น เสมือนแรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการพัฒนาทางวิชาชีพ อันมีพื้นฐานมาจากประสบการณ์ลองผิดลองถูก และ ปรับตัวให้เหมาะกับสถานการณ์ ประเด็นข่าวในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และแนวโน้ม คุณค่าข่าวชายแดนภาคใต้ การวางแผนการสื่อข่าวและการทำงานเป็นทีม ความเสี่ยงและอันตราย รายได้จากการปฏิบัติหน้าที่

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การเตรียมความพร้อม(Preparation) เหตุการณ์ความไม่สงบอาจเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อทั้งกลางวัน กลางคืน ดังนั้นผู้สื่อข่าวจึงมีการเตรียมความพร้อมทั้งจิต ใจ อุปกรณ์การทำข่าว อุปกรณ์ป้องกันตนเอง การค้นพบและการสร้างสรรค์ประเด็นข่าว (News Selection and News Angle Creation) การค้นพบประเด็นข่าวมักมาจากการแจ้งของวิทยุสื่อสาร ของตำรวจ แหล่งข่าวที่เป็นชาวบ้าน ทหาร ตำรวจ ซึ่ง พบว่า การแจ้งจากบุคคลโดยตรงจะทราบเหตุการณ์เร็ว กว่าวิทยุสื่อสารราว 30 นาที การสร้างสรรค์ประเด็นข่าวขึ้นอยู่กับสถานการณ์ โดยมาก มุ่งไปที่ผลกระทบกระเทือนต่อชีวิตและทรัพย์สิน ความ รุนแรง

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การประเมินสถานการณ์ (Situation Analysis) ว่าควรเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตุหรือไม่ มีทั้งการประ เมินด้วยตนเอง ร่วมกับเพื่อนผู้สื่อข่าว หลักในการประเมิน คือ คุณค่าข่าว อันตราย กลางวัน-คืน จำนวนเหตุการณ์ ที่เกิดไล่เลี่ยกัน การก่อเหตุซ้ำ การเข้าถึงสถานที่ การวางแผนการสื่อข่าว (News Reporting Planning) เป็นการวางแผนเกี่ยวกับวิธีการเดินทางไปสังเกตการณ์ ยังสถานที่เกิดเหตุ

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตุ (Location Visit) มีการเดินทางไปด้วยพาหนะของตนเองและเพื่อนผู้สื่อ ข่าว ไปกับพาหนะของเจ้าหน้าที่ ไปก่อน-หลังเจ้าหน้าที่ ระยะห่างกับขบวนรถเจ้าหน้าที่ ข้อปฏิบัติระหว่างการเดินทาง การแสวงหาข้อมูลข่าว (Data/Information Searching) มีวิธีการต่างๆ ดังนี้ การสังเกตการณ์ของผู้สื่อข่าว การบัน ทึกภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว การขอเอกสารจากเจ้าหน้าที่ การสัมภาษณ์ทั้งในสถานที่เกิดเหตุ และภายหลังจากกลับ จากสถานที่เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ รวมถึงข้อปฏิบัติ ระหว่างการอยู่ในสถานที่เกิดเหตุ

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การประเมินคุณค่าข่าว (Evaluation of News Value) เกณฑ์การประเมินคุณค่าข่าว คือ ความรุนแรง ผลกระทบ กระเทือน ความสะเทือนอารมณ์ ซึ่งมีผลต่อการติดตาม ความคืบหน้า และการรายงานข่าวประเภทอื่นๆ ด้วย การตรวจสอบความถูกถ้วน (Data/Information Verification) ผู้สื่อข่าวมีการตรวจสอบความถูกต้องมากกว่าความครบ ถ้วน คือ การตรวจสอบข้อมูลของผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิต สถานที่เกิดเหตุ วัตถุระเบิด อาวุธปืน ความน่าเชื่อถือของ แหล่งข่าว ตรวจสอบระหว่างสื่อมวลชนด้วยกันเอง มีข้อจำกัดเรื่องเวลา การแข่งขันของสื่อ มุ่งรายงานข้อ มูลพื้นฐานหรือปรากฏการณ์ที่เห็น

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การเขียนและรายงานข่าว (News Writing and Reporting) การเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบทำให้ผู้สื่อข่าวเขียนข่าว ชำนาญขึ้น พัฒนาเป็นรูปแบบที่คงตัว คือ เริ่มจากเหตุ การณ์ แล้วก็จบด้วยความคิดเห็นของแหล่งข่าว ผู้สื่อข่าวบางคนเขียนข่าวส่งให้หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ มีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน ส่วนวิทยุมักรายงานเหตุ การณ์เบื้องต้น แล้วตามด้วยความคืบหน้าพอถึงสถานที่ เกิดเหตุการณ์ การส่งภาพหนังสือพิมพ์จะส่งภาพที่เหมือนหรือแตกต่าง กัน ขึ้นอยู่กับผู้สื่อข่าว ส่งไปฉบับละ 1-4 ภาพเผื่อเลือก

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การเขียนและรายงานข่าว (News Writing and Reporting) ส่วนภาพข่าวโทรทัศน์ก่อนส่งมีการตัดต่อด้วยใช้โปร แกรมคอมพิวเตอร์ก่อนให้เหลือราว 15-30 วินาที หรือ ราว 3 นาทีหากมีคุณค่าข่าวมาก ส่งทางอินเตอร์เน็ต บางช่องมีโปรแกรมที่ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นเปิดผ่านโปรแกรม แล้วกองบรรณาธิการสามารถมองเห็นภาพไปพร้อมๆ กัน แล้วจะมีการบันทึกที่กรุงเทพฯ

กระบวนการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบของ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน การประเมินผลงานข่าว (News Evaluation) ผู้สื่อข่าวยอมรับทั้งหมดมีการติดตามผลงานข่าวของ ตนเองผ่านสื่อ ส่วนมากเป็นหนังสือพิมพ์มากกว่า โทรทัศน์ รับฟังเสียงสะท้อนจากแหล่งข่าว บุคคลใกล้ชิด และยอม รับว่ามีผลต่อการพัฒนาการทำข่าวของตนเอง แต่ก็ขึ้น อยู่กับองค์กรต้นสังกัดด้วย สิ่งที่พบข้อผิดพลาด คือ เกิดขึ้นทั้งจากตัวผู้สื่อข่าว และ การบรรณาธิกรของกองบรรณาธิการ จนทำให้ข่าวผิดไป จากข้อเท็จจริง อารมณ์ความรู้สึกเปลี่ยน การไม่เซ็นเซอร์ ภาพ การแปลข้ามภาษา

ปัญหา อุปสรรคของผู้สื่อข่าวท้องถิ่นในการสื่อข่าว  ปัญหาจากกฎหมายและการออกแนวปฏิบัติของ หน่วยงานด้านความมั่นคง  การไม่ให้ความร่วมมือของชาวบ้าน  การผลัดเปลี่ยนกำลังพล  การเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในเวลาไล่เลี่ยกัน  อันตรายจากเหตุการณ์ความไม่สงบ  ขวัญกำลังใจของผู้สื่อข่าวท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะของผู้สื่อข่าวท้องถิ่นในการสื่อข่าว  การจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นอย่าง เหมาะสม  กองบรรณาธิการควรบรรณาธิกรข่าวที่คำนึงถึง ผลกระทบต่อตัวผู้สื่อข่าวท้องถิ่นและพื้นที่ สมาคมวิชาชีพควรมีบทบาทอบรมพัฒนาผู้สื่อข่าว อย่างทั่วถึงไม่เลือกปฏิบัติ  ทหารควรมีแนวปฏิบัติต่อผู้สื่อข่าวท้องถิ่นที่ชัดเจน แม้ผลัดเปลี่ยนกำลังพล  ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นควรหาโอกาสเข้าอบรมพัฒนาตนเอง

ทัศนคติของผู้สื่อข่าวท้องถิ่นต่อแนวคิดการสื่อข่าว เพื่อสันติภาพ (Peace Journalism) ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นที่เคยร่วมงานกับศูนย์ข่าวอิศรา สมาคม นักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยมีเคยรับรู้ เข้า ร่วมอบรม และมีทัศนคติที่ดีต่อแนวคิดการสื่อข่าวเพื่อ สันติภาพ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นกลุ่มดังกล่าว ไม่เชื่อมั่นว่าสามารถนำ มาใช้ประโยชน์ในการสื่อข่าวสถานการณ์ความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพราะข้อจำกัดจากองค์กร สื่อมวลชนต้นสังกัด

ทัศนคติของผู้สื่อข่าวท้องถิ่นต่อแนวคิดการสื่อข่าว เพื่อสันติภาพ (Peace Journalism) ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นบางส่วนไม่เคยรู้จักแนวคิดการสื่อข่าว เพื่อสันติภาพ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นบางส่วนมองว่า การสื่อข่าวเพื่อสันติ ภาพ คือการรายงานข่าวที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน สังคม ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นบางส่วนมองว่า ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นไม่มี อิทธิพลพอที่จะทำให้เกิดสันติภาพขึ้นในพื้นที่ หรือแม้ จะรายงานข่าวเพื่อสันติภาพ แต่ภาครัฐ ประชาชน และ กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบไม่เอาด้วยก็ไม่มีทางเกิดสันติภาพ

ทัศนคติของผู้สื่อข่าวท้องถิ่นต่อแนวคิดการสื่อข่าว เพื่อสันติภาพ (Peace Journalism) ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นที่มีโอกาสได้ใช้แนวคิดการรายงานข่าว เพื่อสันติภาพ มักนำมาใช้เป็นแนวทางในการเขียนราย งานพิเศษเชิงข่าว ที่มุ่งประเด็นด้าน  การส่งเสริมสันติภาพ  การเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคม  สิทธิมนุษยชน  เหยื่อ  ศิลปวัฒนธรรม  ศาสนา  ข่าวพัฒนาของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน

ข้อเสนอแนะ สมาคมวิชาชีพทั้งส่วนกลางและภูมิภาค กอ.รมน.ภาค 4 สถาบันการศึกษาในพื้นที่ ควรมีการประชุมร่วมกันเพื่อหา แนวทางที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับจากทุกภาคส่วน เพื่อ ป้องกันการกระทบกระทั่งกัน ป้องกันอันตราย และยกระ ดับมาตรฐานทางวิชาชีพผู้สื่อข่าวท้องถิ่น โจทย์สำคัญของสังคมไทย คือ การผลักดันแนวคิดการ สื่อข่าวเพื่อสันติภาพให้เป็นจริงในพื้นที่ความขัดแย้ง ซึ่ง การมีศูนย์ข่าวอิศราทำให้แนวคิดนี้เป็นรูปธรรม เพราะทำ ให้โครงสร้างสื่อลดความเข้มข้นลง ดังนั้นการพัฒนา ศูนย์อิศราให้มีบทบาทมากขึ้น จึงเป็นโจทย์สำคัญของ สมาคมนักข่าวฯ องค์กรวิชาชีพที่จะพัฒนาศูนย์ข่าวอิศรา ให้มีบทบาทดังเดิม และมีแนวทางที่ชัดเจนมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ ปัญหาของการมีพื้นที่ยืนของข่าวเพื่อสันติภาพ เนื่อง จากโครงสร้างสื่อมีความเข้มแข็งมาก ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น เป็นตัวจักรเล็กๆ ที่แทบจะไม่มีอำนาจ ดังนั้นวิธีการหนึ่ง ที่จะลดความยิ่งใหญ่ของโครงสร้างสื่อ คือ การขยับสื่อ ให้เข้ามาใกล้กับผู้สื่อข่าวท้องถิ่นให้มากขึ้น วิธีการหนึ่ง คือการสร้างสื่อทางเลือกที่มีมาตรฐานทางวิชาชีพ (Professional Journalism) จากการศึกษา พบว่า เหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ทำให้ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นรวมตัวกันเป็น Team Work มากขึ้น สมาคมวิชาชีพทั้งส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาคควรใช้โอกาสนี้ ผลักดันให้ผู้สื่อข่าวท้องถิ่น รวมกันเป็นกลุ่ม ที่อยู่บนพื้นฐานการพัฒนาทางวิชาชีพ แก้ปัญหาการทำงานในระดับพื้นที่ และแลกเปลี่ยนประ สบการณ์ระหว่างกัน

ขอบคุณครับ ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา Phirakan@bunga.pn.psu.ac.th