สภาพผลการดำเนินงานองค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการบันทึกข้อความ
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การประชุมชี้แจงแนวทาง การดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ มสธ. (STOU -PMQA) วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน.
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
PDCA คืออะไร P D C A.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 1-6 :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Good Practice (for Quality Improvement)
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
หลักการเขียนโครงการ.
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สภาพผลการดำเนินงานองค์กร โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2550 Module 6 การเขียนรายงาน สภาพผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Report)

Module 6 การเขียนรายงานสภาพผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Report) 6.1 หลักการเขียนรายงาน ตามกรอบการจัดการที่ดี 6.2 ตัวอย่างรายงาน

เงื่อนไขการตอบคำถาม คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับ ต้องตอบคำถามโดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย (#) ตอบโดยยังไม่มีความสมบูรณ์ (ทำบางส่วนของคำถาม) ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบว่า “ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ..........” (ให้ระบุปัญหาหรือสาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ) คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้” คำถามที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

ข้อพึงระวังในการตอบคำถาม ตอบคำถามได้ตรงตามประเด็นคำถาม ครบถ้วน ครอบคลุม ตอบตามความเป็นจริงตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา ตอบตามกระบวนการจัดการที่ดี (ADLI) และตามระบบผลลัพธ์ (LeTCLi) คำตอบควรสมบูรณ์จบประเด็นในข้อของตัวเอง หากต้องมีการอ้างอิงเชื่อมโยงจากหัวข้ออื่น ให้อ้างถึงข้อนั้นโดยไม่ต้องรายงานข้อมูลซ้ำซ้อน พยายามเลือกใช้คำที่กระชับ ตรงประเด็น ชัดเจน มากกว่าคำกว้างๆเกินไป ควรเพิ่มการอธิบายถึง หลักฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นประกอบพอสมควร ต้องตระหนักว่า กำลังเขียนเพื่อให้คนอื่นเข้าใจการกระทำของเราที่ ถูกต้องชัดเจน ตามความเป็นจริง รายงานนี้ ยังไม่ใช่รายงานตรวจประเมินเพื่อประกวดรางวัล (Application report) วัตถุประสงค์เพื่อรายงานสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ยังไม่มีการประเมินค่าแต่อย่างใด (จะมีการประเมินในขั้นตอนหลังการทำรายงานนี้)

ลำดับขั้นของรายงาน Application Performance Report Report Data /Information Report Application Report ส่ง กรรมการ รางวัล Performance Report Org. Profile Report Self Assessment Report Feedback Report จาก ผู้ประเมิน Feedback Report จาก กพร. Improvement Plan Report Progress Report Implement

ประเภทคำถาม : หมวด 1-6 อะไร WHAT

ประเภทคำถาม : หมวด 1-6 อย่างไร HOW : ADLI

วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI Approach A ตาราง แผนภาพ บรรยาย มีวิธีการหรือแผนที่มุ่งบรรลุผลองค์กร เป็นระบบชัดเจน ทำซ้ำได้ ตรวจตามได้ อยู่บนฐานข้อมูลจริง บูรณาการ มุ่งปรับปรุง Deployment D ตาราง แผนภาพ บรรยาย ทำครอบคลุมทุกขั้นตอนตามแผน ทำทุกหน่วยงาน ทุกคนที่เกี่ยวข้อง ทำทุกขั้นตอน ทำจริงจัง Learning L ตาราง แผนภาพ บรรยาย ติดตามประเมินผลลัพธ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การปรับปรุง Integration I ความสอดคล้องระหว่าง แผน ปฏิบัติ วัดวิเตราะห์ ปรับปรุง มุ่งสู่เป้าหมายองค์กร ตาราง แผนภาพ บรรยาย

Integration I Learning L Approach A Result Deployment D การประเมิน หมวด 1-6 ADLI Integration I PDCA Alignment Learning L Approach A Result Check/Act Plan Deployment D Do

วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI เป็นระบบ ชัดเจน ทำซ้ำได้ บูรณาการ ฐานข้อมูล Approach A วัดได้ ติดตามได้ มุ่งปรับปปรุง มุ่งเป้า องค์กร A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan ผลลัพธ์ ตรงเป้า Deployment D Learning L Integration I Result R ทำครอบคลุม ทุกหน่วย ทุกคน ทุกขั้น จรังจัง ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ ติดตาม แลกเปลี่ยน ปรับปรุง

รูปแบบการตอบคำถาม : หมวด 1-6 แบบตาราง แบบแผนภาพ แบบพรรณา

ประเภทคำถาม : หมวด 7 LeTCLi

ระบบผลลัพธ์ 4 มิติ: LeTCLi Level Le ตาราง กราฟ บรรยาย ผลลัพธ์เทียบกับเป้าหมาย มาตรวัดชัดเจน Trend T ทิศทางแนวโน้ม อัตราการเปลี่ยนแปลง ตาราง กราฟ บรรยาย Compare C ผลที่เทียบกับค่ามาตรฐาน ผลที่เทียบกับองค์กรอื่น ตาราง กราฟ บรรยาย Linkage Li ความครอบคลุมในประเด็นหลัก ความสำคัญต่อองค์กร ตาราง กราฟ บรรยาย

การประเมิน หมวด 7 LeTCLi Level Le Goal Linkage Li KRA KPI Trend T Trend Key Measure Compare C Benchmark

ระบบผลลัพธ์ 4 มิติ: LeTCLi ตรงเป้า เรานำ ล้ำหน้าดี มีตัวชี้ครบ กระจก ส่องหลัง sustained improvement trends level of performance meet goals all key measures comparisons and benchmarks Le T C Li กระจก หน้ารถ พวงมาลัย หน้าปัด ข้าง

รูปแบบการตอบคำถาม : หมวด 7 แบบตาราง แบบกราฟ แบบคำอธิบายกราฟ

การตอบคำถาม ตัวอย่างรายงาน