ผลของจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงต่อสมรรถนะและการปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซล นพดล พินธุกนก ดร. จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
นางสาวพรรณวดี ฝางแก้ว รหัส
COE Electronic Voting System
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
Mr. Supat Srimingmuangnivej
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การผลิตไบโอดีเซลด้วยพลังงานจากแสงอาทิตย์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
PC Based Electrocardiograph
รายงานความก้าวหน้าโครงการ Wireless Sensor Network for Smart Home
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
นาย ณัฐวุฒิ อยู่เกษ โปรแกรมวิชา ดนตรี เสนอ
รูดอล์ฟ ดีเซล.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
ECO CAR (ACES CAR ) รถประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
การอ่านและนำเสนอ เรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีน้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ( GOSOHOL )
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
โครงการวิจัย การเปรียบเทียบสมรรถนะคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Comparative Benchmarking of Faculty of Associated Medical.
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
การทำ Social Mapping เพื่อหาข้อตกลง
การเสนอโครงการวิจัย.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
แนวทางการจัดการการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี โดย นางสาวฉันทนา สมยา ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม)
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 28
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
"น่าสนใจ มั้ยล่ะ! มารู้จักกันเลยดีกว่า"
สำนักคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิง
โครงการปรับแต่ง เครื่องยนต์ ให้สามารถใช้แก๊ส โซฮอล์
แนวทางการเลือกหัวข้อโครงงานปริญญานิพนธ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของ น้ำมันดีเซล พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 มกราคม.
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลของจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงต่อสมรรถนะและการปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซล นพดล พินธุกนก ดร. จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ (อาจารย์ที่ปรึกษา) ผศ.ดร. มานะ อมรกิจบำรุง (อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม) ศ.ดร. ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ ดร. พิพัฒน์ พิชเยนทรโยธิน สายวิชาเทคโนโลยีอุณหภาพ คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซลที่อัตราส่วนผสมต่างๆ

เครื่องยนต์ที่ใช้ทดสอบ Number of Cylinder 6 Bore 116 mm Stroke 121 mm Displacement 7.6 Liter Compression Ratio 15.5:1 Power Rating 127 kW (170 HP)

น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในงานวิจัย น้ำมันดีเซลบริสุทธิ์ (D100) น้ำมันไบโอดีเซลบริสุทธิ์ (E100) น้ำมันผสมไบโอดีเซลโดยปริมาตรที่อัตราส่วน - ไบโอดีเซล 25 % ดีเซล 75% (B25) - ไบโอดีเซล 50 % ดีเซล 50% (B50) - ไบโอดีเซล 75 % ดีเซล 25% (B75)

คุณสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิง

การทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ Fuel Air Exhaust Nozzle Intake Compression Power Exhaust

จังหวะการฉีดเชื้อเพลิง TDC 16 ° BTDC 13 10 7 q 10 7 13 16

การสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 25 kW 50kW 75 kW

ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ 25 kW 75 kW 50 kW

การปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ที่ ภาระ 50 kW

การปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ที่ ภาระ 75 kW

สรุปผลการวิจัย การใช้น้ำมันไบโอดีเซลเอทิลเอสเทอร์ เครื่องยนต์มีการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงสูงกว่าการใช้ดีเซลประมาณ 2 – 20 % สูงขึ้นตามสัดส่วนไบโอดีเซลที่ผสมสูงขึ้น การใช้ไบโอดีเซลส่งผลให้ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์สูงใกล้เคียงการใช้ดีเซล และมีแนวโน้มสูงกว่าดีเซลได้ที่ภาระเครื่องยนต์สูงขึ้น (หรือกล่าวได้ว่าการใช้น้ำมันไบโอดีเซลให้ผลดีที่ภาระเครื่องยนต์สูงๆ) การปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงส่งผลต่อประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ คือ เครื่องยนต์จะมีประสิทธิภาพสูงสุดที่จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงจุดหนึ่ง การใช้ไบโอดีเซลเครื่องยนต์มีประสิทธิภาพสูงสุดที่จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงใกล้ศูนย์ตายบนกว่าการใช้ดีเซล หรือกล่าวว่าถ้าเราใช้น้ำมันไบโอดีเซลสามารถปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงให้ล่าช้ากว่าดีเซลได้ เครื่องยนต์ที่มีประสิทธิภาพสูงจะมีแนวโน้มการปลดปล่อยมลพิษ NOx สูง ในขณะที่ มลพิษ HC มีค่าต่ำลง การปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงก่อน TDC มากขึ้น แนวโน้มการปลดปล่อยมลพิษ NOx มีค่าสูงขึ้น ในขณะที่การปลดปลดมลพิษ HC มีค่าต่ำลง เมื่อเทียบที่จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุดระหว่างการใช้ไบโอดีเซล กับดีเซล สรุปได้การใช้ไบโอดีเซลมีแนวโน้มการปลดปล่อยมลพิษโดยรวมต่ำกว่าการใช้ดีเซล