โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
รายงานธุรกิจ.
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การศึกษาความพึงพอใจของ
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ด้านข้อร้องเรียนของกรมทางหลวง
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
Nakhon Sawan Survey “ เท่าเทียม ทั่วถึง ทุกท้องที่ ”
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ประชาชนเขียนคำร้อง แจ้งเหตุ / ร้องทุกข์
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ตัวชี้วัด : 3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร น้ำหนักคะแนน : Line staff Line & Staff 6 5 เกณฑ์การให้คะแนน : ขั้นตอนที่ หัวข้อ คะแนน 1 การรับเรื่อง 2 การดำเนินการแก้ไข 3 การรายงานผล 4 สถิติการแก้ไขแล้วเสร็จ โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่ 1 – 4 มาเฉลี่ยเป็นน้ำหนักคะแนนตามประเภทหน่วยงาน

คำนิยามใหม่ที่ควรทราบ : รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น - การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง - แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง - การแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้ ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้

ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 : การรับเรื่อง จำนวนเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานตอบรับภายใน 1 วันทำการ นับถัดจากวันที่ศูนย์รับแจ้งทุกข์แจ้งเรื่อง และ รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 ภายใน 3 วันทำการ นับถัดจากวันที่หน่วยงานตอบรับดำเนินการ ขั้นตอนที่ 2 : การดำเนินการแก้ไข จำนวนเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไข และ รายงานผลการดำเนินการโดยระบุรายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ และ มีการติดตามความคืบหน้าโดยตลอด - ทุกวันที่ 15 - ทุกวันที่ 30 (เดือน ก.พ.= วันสุดท้ายของเดือน)

ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 : การรายงานผล หน่วยงานจัดทำรายงานการสรุปเรื่องร้องเรียนทุกเดือนให้หัวหน้าหน่วยงานทราบและส่งให้กองกลางพิจารณาภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ขั้นตอนที่ 4 : สถิติการแก้ไขแล้วเสร็จ จำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข ณ วันสิ้นปีงบประมาณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของจำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด

ผลความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหา คือ คำตอบโจทย์กับผู้ร้อง การแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้แล้วเสร็จภายใน 3 วัน ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย แต่ ผลความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหา คือ คำตอบโจทย์กับผู้ร้อง