ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
สรุปการประชุมระดมความคิด
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า 5 จชต. ของกระทรวงพาณิชย์
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
โดย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะ.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม 2551 เวลา 10.30 น. ณ ห้องกิติยากรวรลักษณ์ Ministry of Commerce 1

โครงสร้างองค์กร กระทรวงพาณิชย์ นโยบาย/อำนวยการ กลุ่มภารกิจในประทศ สำนักงานปลัดกระทรวง กลุ่มภารกิจในประทศ กรมการค้าภายใน กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กลุ่มภารกิจต่างประทศ กรมการค้าต่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก กรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ สำนักงานเลขานุการัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์ นโยบาย/อำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวง กลุ่มภารกิจในประทศ กรมการค้าภายใน กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรมพัฒนาธุรกิจการค้า *สำนักงานเศรษฐกิจการพาณิชย์ กลุ่มภารกิจต่างประทศ กรมการค้าต่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก กรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี รัฐวิสาหกิจ อคส. องค์กรมหาชน สวอ. ศศป. หน่วยงานในการสนับสนุน กสล. ตสล. 2 * แบ่งส่วนราชการภายใน

กฏหมายหลัก คน. คต. พค. ทป. สอ. ประกาศกระทรวง กฏกระทรวง พรบ.แข่งขันทางการค้าพ.ศ. 2542 พรบ.ราคาสินค้าและบริการพ.ศ. 2542 พรบ.ชั่งตวงวัด พ.ศ. 2542 ประกาศคณะปฏิวัติ (58) เงือนไขการควบคุมกิจการคลังสินค้าคลังสินค้า พ.ศ. 2499 พรบ.ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. 2542 พรบ.เกี่ยวกับสินค้ามาตรฐานและมาตรฐานสินค้า พรบ.เกี่ยวกับการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน พรบ.เกี่ยวกับการส่งออก-นำเข้า พรบ. กำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ.ศ. 2499 พรบ. ทะเบียนพาณิชย์พ.ศ. 2499 พรบ. บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 พรบ. การบัญชี พ.ศ. 2543 พรบ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 พรบ. สมาคมการค้า พ.ศ. 2509 พรบ. หอการค้า พ.ศ. 2509 พรบ.ทรัพยสินทางปัญญา พรบ. สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2537 กฏหมายหลัก คน. คต. ประกาศกระทรวง พค. กฏกระทรวง กฏหมายที่เกี่ยวข้อง ทป. สอ. 3

ส่วนภูมิภาค ส่วนต่างประเทศ หน่วยงานในสังกัด ส่วนกลาง สำนักงานพาณิชย์จังหวัด (75) สำนักงานการค้าภายในจังหวัด (75) สำนักงานสาขาชั่งตวงวัดเขต (27) สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า (75) ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก (5) สำนักงานการค้าต่างประเทศ (6) ส่วนต่างประเทศ สำนักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ 4 แห่ง สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ 56 แห่ง ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ทางการค้า 36 คน (Honorary Trade Advisors) ส่วนกลาง 4

หน่วยงานในต่างประเทศ อเมริกาเหนือ ลาตินอเมริกา ยุโรป จีน เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ อาเซียน และแปซิฟิก 7 1 14 1 1 6 1 5 5 10 แอฟริกาใต้ 2 4 3 คณะผู้แทนถาวรไทยประจำองค์การการค้าโลก 1 แห่ง สำนักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ 3 แห่ง สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ 56 แห่ง 5

หน่วยงานในภูมิภาค 75 จังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สำนักงานการค้าภายใน จังหวัด สำนักงานพัฒนาธุรกิจ การค้าจังหวัด ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก 5 แห่ง สำนักงานการค้าต่างประเทศ 6 แห่ง สำนักงานช่างตวงวัด 23 แห่ง 6

วิสัยทัศน์ พันธกิจ2552-2554 พันธกิจ วิสัยทัศน์ สร้างรายได้เข้าสู่ประเทศ สร้างความแข็งแกร่ง ให้ระบบเศรษฐกิจการค้าของประเทศ และเพิ่มโอกาสให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์ “เป็นกระทรวงผู้นำใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าของประเทศและผลักดันให้ประเทศไทย เป็นหนึ่งในศูนย์กลางการค้าชั้นนำของภูมิภาคเอเชีย” รักษาความเป็นธรรม ทางการค้าและพิทักษ์ผลประโยชน์ให้แก่ผู้บริโภค พัฒนาและจัดระบบการค้า ให้รองรับการเป็นศูนย์กลาง การค้าในภูมิภาค 7

MOC’s 1. ส่งเสริมบรรยากาศทางการค้า (สร้างสนามการค้า) โดยให้ทูตพาณิชย์ในต่างประเทศเป็นผู้ผลักดันการขยายตลาดการค้าในต่างประเทศ 6. ให้ความสำคัญกับกฎหมาย กฎระเบียบการค้าต่าง ๆ ปรับให้สอดคล้องและรองรับกับสถานการณ์ปัจจุบัน 3. ให้พาณิชย์จังหวัด ติดตามดูแลราคาสินค้าเกษตร ให้เกษตรกรได้รับความเป็นธรรม อย่าให้พ่อค้าคนกลางเป็นผู้กำหนดราคา 2. เน้นการทำงานเชิงรุกและเป็นทีม ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนต่างประเทศ Policies 7. ผลักดันการส่งออกสินค้าและธุรกิจบริการของไทยในตลาดโลก 5. ให้ความสำคัญเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับด้านการค้าต่างประเทศ 4. ดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภค 8

ยุทธศาสตร์ 2552-2554 1 2 3 4 5 กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ทิศทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการเพิ่มส่วนแบ่งตลาด และมุ่งส่งเสริมธุรกิจบริการ ผลิตสินค้าและการบริการ ตามความต้องการของตลาด ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain & Value Creation เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญาให้เกิดผลประโยชน์ต่อ ผู้ประกอบธุรกิจไทย เพิ่มโอกาสการเข้าสู่ตลาด และบูรณาการเครือข่ายธุรกิจเข้าสู่ทุกภูมิภาคในต่างประเทศ พัฒนา SMEs และ สินค้า OTOP อย่างครบวงจร พัฒนาและเสริมสร้างตลาดภายในประเทศให้มีการแข่งขัน ที่เสรีและเป็นธรรม คุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรมทั้งด้านราคา และปริมาณได้อย่างครบถ้วนและเพียงพอ ใช้ข้อตกลงทางการค้าให้เกิดประโยชน์ และเป็นการเพิ่มทางเลือก พัฒนา Logistic การค้าให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร และเพิ่มมูลค่าทางการค้า กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ สนับสนุนการ กระจายรายได้และ ให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 5 มุ่งเน้นการค้าเสรีและเป็นธรรมให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต 4 สร้างความแข็งแกร่งให้ตลาดภายในประเทศ 3 ส่งเสริม การส่งออก 1 ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล 2 พาณิชย์เป็นทัพหน้าทางการค้า เชื่อมโยงการค้าในประเทศสู่สากล มุ่งแน้นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ประเทศ มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจการค้าให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพด้วย อุปสงค์ภายในประเทศ มุ่งพัฒนานโยบายการแข่งขันทางการค้าให้เกิดผล เสริมสร้างประสิทธิภาพทางการพาณิชย์ เน้นแนวทางการมองตลาดภายในประเทศเป็นเศรษฐกิจอาเซียน ทิศทางการดำเนินงาน 9

สถานะการเจรจา FTA ของไทย Single Undertaking ไทย-ญี่ปุ่น ใช้บังคับ 1 พฤศจิกายน 2550 ไทย-ออสเตรเลีย ใช้บังคับ 1 มกราคม 2548 ไทย-นิวซีแลนด์ ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2548 ไทย-เปรู ลงนามในพิธีสารเพื่อเร่งเปิดเสรีทางการค้าและการอำนวยความสะดวกทางการค้า ไทย-EFTA อยู่ระหว่างการเจรจา แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ - FTA ที่เจรจาเสร็จและมีผลใช้บังคับแล้ว ได้แก่ ไทย-ญี่ปุ่น (1 พฤศจิกายน 2550) ไทย-ออสเตรเลีย (1 มกราคม 2548) ไทย-นิวซีแลนด์ (1 กรกฎาคม 2548) ไทย-อินเดีย (สินค้า 82 รายการ: 1 กันยายน 2547) - FTA ที่ลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลบังคับใช้ (อยู่ระหว่างดำเนินการภายในประเทศเพื่อให้มีผลบังคับใช้) ได้แก่ ไทย-เปรู ลงนามในพิธีสารเพื่อเร่งเปิดเสรีทางการค้าและการอำนวยความสะดวกทางการค้า สำหรับสินค้ากลุ่ม Early Harvest เมื่อ 19 พฤศจิกายน 2548 และพิธีสารเพิ่มเติมด้านถิ่นกำเนิดสินค้าเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบตารางภาษีของสินค้ากลุ่ม Early Harvest และถิ่นกำเนิดสินค้า - FTA ที่อยู่ในระหว่างการเจรจา ได้แก่ - ไทย-อินเดีย (สินค้าที่เหลือ บริการและการลงทุน) - ไทย-เปรู (สินค้าที่เหลือ บริการ และการลงทุน) - BIMSTEC - ไทย-EFTA ความตกลงว่าด้วย: สินค้า บริการ ลงทุน ไทย-อินเดีย 82 รายการ (1 ก.ย. 2547) อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา BIMSTEC อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา 10 10

นโยบายการส่งเสริมการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาด มาตรการลดภาระค่าครองชีพ : ธงฟ้า 3 ดูแลสินค้าต้นทางราคา ณ โรงงาน 1 การดูแลสินค้าปลายทาง ณ แหล่งจำหน่าย 2 4 มาตรการตรวจสอบภาวะราคาและปริมาณสินค้า 5 มาตรการการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน : ตลาดสดดีเด่น 11

นโยบายด้านการส่งเสริมการค้าชายแดน อำนวยความสะดวกทางด้านการค้าและการลงทุนในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาค ความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามฝ่าย 3 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี เจ้าพระยา แม่โขง 1 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 2 12

ป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางการค้า ประเด็น การสร้างความมั่นใจให้ผู้ประกอบการด้านการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา ป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางการค้า 3 ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีการสร้างสรรค์และการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์ 1 ส่งเสริมและสร้างความมั่นใจให้ผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบคุ้มครองสิทธิทรัพย์สินทางปัญญา 2 13

แนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศในปัจจุบัน พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจภายในประเทศ 3 การส่งออก - ไปยังตลาดใหม่ - ช่วยเหลือด้านแหล่งเงินทุน - สร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้า 1 เร่งสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้นำเข้าและนักลงทุนในต่างประเทศ 2 4 การดูแลภาวะราคาสินค้า 14

แนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศในปัจจุบัน พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจภายในประเทศ 3 การส่งออก - ไปยังตลาดใหม่ - ช่วยเหลือด้านแหล่งเงินทุน - สร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้า 1 เร่งสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้นำเข้าและนักลงทุนในต่างประเทศ 2 4 การดูแลภาวะราคาสินค้า 15

Q & A Ministry of Commerce 16