นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Research Mapping.
Advertisements

การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

นโยบายรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นโยบายรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ข้อ 3 การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต 3.3.1 สนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทางของกฎหมายสุขภาพแห่งชาติ โดยเร่งดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลต่อสุขภาพและการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยประสานความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจากภาคีพัฒนาในสาขาต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจ รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย รวมทั้งเสริมบทบาท อปท. ให้มีส่วนร่วมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข

นโยบายหลักกรมควบคุมโรค เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีไทย )เป็นนโยบายหลักและบูรณาการทุกหน่วยงานทุกภาคส่วนมุ่งลดสหปัจจัยเสี่ยงร่วม ที่เป็นสาเหตุของโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังโดยชุมชนได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของชุมชนและยั่งยืน

แนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน มาตรการที่ 1 ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และการคัดกรองความเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงและเบาหวาน 2 ระดับ (ระดับชุมชนและระดับสถานบริการ) มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนักการให้ความรู้ในวงกว้างและการรณรงค์สร้างกระแสเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยงในชุมชน

มาตรการที่ 4 การให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรม ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในสถานบริการ มาตรการที่ 5 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงาน ตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มี ความสำคัญระดับชาติให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6 การนิเทศ กำกับ ติดตาม และ ประเมินผล

อัตราป่วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ปี 2550-2552ใน พื้นที่สาธารณสุขเขตที่ 14 สถานการณ์โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในเขต 14 เพิ่มขึ้นอย่างเนื่องทุกปี ซึ่งพบว่าการเกิดโรคเบาหวานในระยะเวลา 1 ปี (ปี 2551-2552) มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 13.8 หรือ 1.13 เท่า ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ร้อยละของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน จากโครงการเบาหวานครบวงจร จ. นครราชสีมาปี 2551

สถานการณ์โรคและความเสี่ยง ประมาณการประชากรของประเทศไทยสำหรับแต่ละปัจจัยเสี่ยง (ข้อมูลจากการสำรวจ BRFSS) 2548 2550 เบาหวาน 1,530,313 ความดันสูง 3,667,234 อ้วน 1,392,884 สูบบุหรี่ 10,032,420 ดื่มสุรา 17,018,006 เบาหวาน 1,798,366 ความดันสูง 4,296,221 อ้วน 1,717,196 สูบบุหรี่ 9,790,519 ดื่มสุรา 16,532,714

ร้อยละของอ้วนอันตราย (BMI 30 ขึ้นไป) ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

ร้อยละของน้ำหนักเกิน (BMI 25 ขึ้นไป) ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

ร้อยละของผู้ที่มีรอบเอวเกิน ปี 2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

ร้อยละของกินผักหรือผลไม้ผ่านเกณฑ์ (5 หน่วยมาตรฐานต่อวัน) ปี 2548และ 2550 (จากการสำรวจ BRFSS)