แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550 การพัฒนามาตรฐานการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและทีมปฏิบัติการควบคุมโรคระดับพื้นที่ การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมและเครือข่ายในการป้องกันควบคุมโรคโดยเฉพาะเขตเมือง โรงพยาบาล และโรงเรียน การพัฒนาระบบบริหารจัดการ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสาธารณะ
ตัวชี้วัดการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550 ระดับประเทศ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของประเทศ 5 ปี ย้อนหลัง (2544-2548) ระดับจังหวัด อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของจังหวัด 5 ปี ย้อนหลัง (2544-2548)
ตัวชี้วัดการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2550 ตัวชี้วัดการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2550 ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI = 0 ร้อยละ 50 ของเทศบาลเมือง/ เทศบาลนคร มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI ≤ 10 ร้อยละ 80 ของจังหวัดในพื้นที่เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ตามมาตรฐาน
แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบของสคร แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบของสคร.6 ขก ปี2550 เน้นการควบคุมลูกน้ำในบ้าน ชุมชนทั้งเขตชนบท เขตเทศบาล โรงเรียนให้ได้ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ( หาวิธีอย่างเป็นรูปธรรม ) ติดตามวิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่เกิดโรคและหาแนวทางการควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว ประสานขอความช่วยเหลือจากเครือข่ายได้ตลอดเวลา
ควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ Outbreak response (SRRT) แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบของสคร.6 ขก ปี2550 ควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ Outbreak response (SRRT) Case investigation Outbreak investigation
การรายงานโรคไข้เลือดออก การรายงานโรคไข้เลือดออกมี 2 ประเด็น คือ รายงานเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคโดยรายงาน DF / DHF / DSS รายงานทุกสัปดาห์ 52 สัปดาห์ 2. รายงานเพื่อประเมินผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวง/กรมฯ/กพร. รายงานตามไตรมาส 3. รายงานข้อมูลสนับสนุนการนิเทศของผู้ตรวจราชการฯ 2 ครั้ง/ปี