ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ จะมั่นใจได้อย่างไร ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
ไม่มีผู้ป่วย ไม่มีป่วยอีก หลัง 28 วัน พ่นหมอกควัน ทั้งหมู่ครั้งที่ 2 7 วัน 14 วัน 21 วัน 28 วัน ไม่มีป่วยอีก หลัง 28 วัน พ่นบ้านผู้ป่วยและ 50 เมตร พ่นหมอกควัน ทั้งหมู่ครั้งที่ 2 พ่นหมอกควัน ทั่งหมู่ครั้งที่ 1 และรณรงค์ ไม่มีผู้ป่วย พ่นครั้งที่ 3 ผู้ป่วยรายแรก ถ้ามีผู้ป่วย วันที่ (ใช้วันเริ่มป่วย)
รู้เขา รู้เรา รบ 100 ครั้ง ชนะ 100 ครั้ง รู้เขา รู้เรา รบ 100 ครั้ง ชนะ 100 ครั้ง รู้เขา รู้ชุมชน รู้ปัญหา รู้แหล่งโรค ทำงานเป็นทีม สาธารณสุข เทศบาล ศึกษาธิการ อบต มหาดไทย
รู้เรา รู้เรื่องโรคไข้เลือดออก รู้เรื่องยุงลาย รู้เรื่องสารเคมี รู้เครื่องพ่น รู้เทคนิคการพ่น รู้การติดตามประเมินผล
การทำงานเป็นทีม หมู่บ้าน / ชุมชน โรงเรียน ทีมสาธารณสุข / โรงพยาบาล รายงานเร็ว สอบสวนโรค หาแหล่งโรค ประสานท้องถิ่น ท้องถิ่น เตรียมพร้อม คนพ่น เครื่องพ่น สารเคมี งบประมาณ น้ำมัน หมู่บ้าน / ชุมชน โรงเรียน
สิ่งที่แนะนำให้ดำเนินการ จัดทำทะเบียนเครื่องพ่นในตำบล ว่ามีกี่เครื่อง ยี่ห้ออะไร รุ่นไหน อยู่ที่ไหน ใครดูแลรับผิดชอบ จะช่วยให้สามารถใช้เครื่องพ่นร่วมกันได้ แก้ปัญหาเครื่องพ่นไม่พอ เครื่องเสียขณะปฏิบัติงาน ต้องมีเครื่องสำรอง จัดทำทะเบียนผู้พ่นสารเคมี ทุกหมู่บ้าน กรณีหมู่บ้านหรือชุมชนใหญ่สามารถระดมเครื่อง และคนมาช่วยกันพ่นให้เสร็จได้ในเวลารวดเร็ว สามารถพ่นทันเวลาที่เหมาะสม เช่นช่วงเช้าที่อากาศยังไม่ร้อน เป็นต้น ถ้ามีเครื่องเดียวอาจต้องพ่นทั้งวันทำให้ต้องพ่นตอนอากาศร้อนน้ำยาจะลอยสูง ไม่มีประโยชน์
สวัสดี