วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ปี 2008

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การเบิก OPV รณรงค์ ผ่านระบบ VMI
โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ สปส.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
VMI (Vendor Managed Inventory)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การบริหารโครงการ VMI โดย องค์การเภสัชกรรม
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ปี 2008 ภญ.ญาศินี ตั้งวงษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น

1.วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ คืออะไร ใช้สำหรับป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ใน เด็ก ผู้ใหญ่ กลุ่มเสี่ยง ป้องกันได้กรณีเป็น 3 สายพันธ์ในวัคซีน หรือใกล้เคียง ไม่ป้องกัน Influenza like illness ได้รับเชื้อก่อนฉีด บุคคลที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ควรฉีดทุกปี

2.ข้อมูลที่ควรทราบ ข้อห้ามใช้ แพ้ส่วนประกอบในวัคซีน ไข่ โปรตีนไก่ นีโอมัยซิน ฟอร์มาลดีไฮด์ Octoxinol-9 มีไข้สูง ติดเชื้อเฉียบพลัน ผสมวัคซีนอื่นในไซรินจ์เดียวกัน ฉีดเข้าส้นเลือดโดยตรง

ข้อควรระวัง กรณีอยู่ในภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ(immunosuppression) แจ้งให้ทราบก่อนฉีด หลังฉีด 2-3 วัน ผลเลือด อาจเป็นผลบวกลวง (false positive) การใช้วัคซีนร่วมกับยาอื่น ใช้กับวัคซีนอื่นได้ในเวลาเดียวกัน แต่คนละตำแหน่ง การตอบสนองต่อการสร้างภูมิคุ้มกันอาจลดลง หากกำลังใช้ยากดภูมิคุ้มกัน เช่น คอร์ติโคสเตียรอยด์ รังสีบำบัด cytotoxic drug

3.วิธีใช้วัคซีน เด็กตั้งแต่ 36 เดือน-ผู้ใหญ่ * 1 โด๊ส 0.5 มล. เด็กตั้งแต่ 36 เดือน-ผู้ใหญ่ * 1 โด๊ส 0.5 มล. เด็ก 6-35 เดือน * 1 โด๊ส 0.25-0.5 มล.แล้วแต่คำแนะนำแต่ละประเทศ สำหรับเด็กที่ไม่เคยฉีด แนะนำให้ฉีดอีก 1 เข็มหลังจากเข็มแรกอย่างน้อย 4 สัปดาห์ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือใต้ผิวหนังลึกๆ

4.อาการไม่พึงประสงค์ ปวดศรีษะ กล้ามเนื้อ ข้อ มีไข้ เหงื่อออก ไม่สบายตัว สั่น ล้า อาการเฉพาะที่ เช่น แดง ปวด บวม ห้อเลือด ตุ่มนูนบริเวญที่ฉีด ผื่น ลมพิษ คัน ปริมาณเกร็ดเลือดลดลงชั่วคราว ทำให้เลือดออกง่ายหรือช้ำ มีการบวมของต่อมในคอ ใต้รักแร้ ขาหนีบ

ปวดปลายประสาท อาการชัก อาการผิดปกติของระบบประสาท เสียสมดุล สูญเสียการตอบสนองของร่างกาย อัมพาตบางส่วนหรือทั่วร่าง อาการแพ้ บวม การอักเสบของหลอดเลือด

5.ข้อมูลเพิ่มเติม วัคซีนขนาด 0.5 มล. ประกอบด้วยเชื้อไวรัสชนิดตาย แพร่พันธุ์ ในไข่ไก่ มีแอนติเจนดังนี้ A/Solomon Island/3/2006 (H1N1)-like strain IVR 145 A/Brisbane/10/2007 (H3N2)-like strain IVR 147 B/Florida/4/2006- like strain B/Brisbane/3/2007 ทั้ง 3 ชนิดมีปริมาณ 15 microgramsของฮีแมกกลูติน

ส่วนประกอบอื่นๆ การบรรจุ ไธเมอโรซาล สารละลายบัฟเฟอร์ น้ำกลั่นสำหรับฉีด เป็นน้ำยาแขวนตะกอน ขวดละ 0.5 มล. จำนวน 5 ขวด หลังการเขย่าจะมีสีขาวขุ่นเล็กน้อย

ยุทธศาสตร์การเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็น ยุทธศาสตร์การเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็น จัดหาวัคซีน เวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ป้องกันบุคลากร พัฒนาระบบเก็บสำรอง และบริหารสต็อคด้วย VMI กระจายเวชภัณฑ์ให้เหมาะกับสถานการณ์และกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาศักยภาพการผลิตวัคซีน และยาในประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองในระยะยาว

แนวทางการสนับสนุนวัคซีน กรมแจ้งยอดการกระจาย หน่วยงานที่ไม่สามารถรับวัคซีนได้ตามที่กำหนดให้แจ้งกลับภายใน 5 พ.ค.2551 เมื่อได้รับวัคซีนงวดแรก ให้บันทึกจำนวนคงคลังภายในวันที่ได้รับ โดยใช้ password เดิม โรงพยาบาลที่ยังไม่เคยเบิกระบบ VMI ให้แจ้งชื่อผู้ประสาน และบันทึกข้อมูลFLU1

หน่วยงานที่มีการจัดส่งเพียง 1 รอบ จะไม่มีจุดเติมสินค้า ROP ติดตามการใช้วัคซีนโดยใช้ user name=FLUVMI /password=FLU01 วัคซีนหมดอายุ เดือนมกราคม 2552 ช่วงการรณรงค์ให้วัคซีน ให้บันทึก on hand ทุกสัปดาห์ จนสิ้นสุดโครงการ(ทั้งยาและวัคซีนแม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล)จากนั้นบันทึกเดือนละครั้ง

Download ข้อมูล/ยอดสนับสนุนที่ htpp://beid. ddc. moph. go Download ข้อมูล/ยอดสนับสนุนที่ htpp://beid.ddc.moph.go.th สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ 02 5903167-68,02 5903194 สำนักโรคติดต่อทั่วไป 02 5903196-99

VMI Vendor Management Inventory http://scm.gpo.or.th/vmi http://164.115.5.23/vmi

การลงข้อมูล 1.ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2551 ให้บันทึกข้อมูลสินค้าคงคลังของวัคซีนและ Tamiflu ทุกศุกร์ จนวัคซีนหมดจากสต็อค 2.เมื่อวัคซีนหมดสต็อคให้บันทึกสินค้าคงคลัง รวมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันทุกสิ้นเดือน 3.ยกเลิกการสนับสนุนชุดทดสอบตั้งแต่ มีนาคม 2551

ขั้นตอนการเบิก เข้าเวบไซต์ขององค์การเภสัชกรรม UserName & Password บันทึก inventory On hand Save/OK Post inventory