ความสอดคล้องของผลทดสอบความไวต่อยาวัณโรคจากห้องปฏิบัติการระดับประเทศ 2 แห่ง (รายงานเบื้องต้น) อดุล เขียวเล็ก* แวฟาอูวยียะ ยามิน* เพชรวรรณ พึ่งรัศมี* ทวีพร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทเรียน e- learning ใช้เวลาในการศึกษารวมแบบ ประเมิน... นาที สงวนลิขสิทธิ์โดย : สำนักงานบริหารโครงการร่วมผลิต แพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท.
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
สป. สธ. ซ้อมความเข้าใจ การจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ สธ 0201
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
กลุ่มที่ 3.
กรณีความเสี่ยง DMSc.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ไข้เลือดออก.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวอย่างการสอบสวนมือ เท้า ปาก และ EV71
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การประชุม พิจารณาแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาฯ ปี 2557 ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 24 กันยายน
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสอดคล้องของผลทดสอบความไวต่อยาวัณโรคจากห้องปฏิบัติการระดับประเทศ 2 แห่ง (รายงานเบื้องต้น) อดุล เขียวเล็ก* แวฟาอูวยียะ ยามิน* เพชรวรรณ พึ่งรัศมี* ทวีพร บุญกิจเจริญ* อวยพร เพ็ชรบริสุทธิ์* มณฑา ยานะวิมุติ* *ศูนย์วัณโรคที่ 12 จังหวัดยะลา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา หลักการและเหตุผล แนวทางแห่งชาติสำหรับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (1) แนะนำให้พิจารณาปรับเปลี่ยนระบบยารักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (Multidrug Resistance, MDR) ตามผลการทดสอบความไวต่อยา สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) (2) กำหนดเงื่อนไขในการสนับสนุนยารักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานและงบประมาณสำหรับบริหารจัดการให้กับโรงพยาบาลว่า ต้องมีผลทดสอบความไวต่อยายืนยันว่าดื้อต่อยา INH และ Rifampicin ประเทศไทยมีห้องปฏิบัติการที่สามารถทำการทดสอบความไวต่อยาวัณโรค น้อยกว่า 10 แห่ง โดยมี 2 แห่งซึ่งให้บริการกับหน่วยงานทั่วประเทศโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย คือ สำนักวัณโรค (Lab1) และภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล (Lab2) ห้องปฏิบ้ติการ 2 แห่ง ใช้วิธีต่างกันในการทดสอบ โดย Lab1 ใช้วิธี Indirect susceptibility test, proportional method ตอบผลช้า (อย่างน้อย 3 เดือน ในขณะที่ Lab2 ใช้วิธี Direct susceptibility test ตอบผลเร็ว (ภายใน 1 เดือน) วัตถุประสงค์ เปรียบเทียบผลการทดสอบความไวต่อยาวัณโรคจากห้องปฏิบัติการระดับประเทศ 2 แห่ง วิธีการ ห้องปฏิบัติการของศูนย์วัณโรคที่ 12 ยะลา ส่งตัวอย่างเสมหะจากผู้ป่วยวัณโรคคนเดียวกันในวันเดียวกัน เพื่อทดสอบความไวต่อยาวัณโรค ณ ห้องปฏิบัติการระดับประเทศ 2 แห่ง เปรียบเทียบผลการทดสอบความไวต่อยาวัณโรคของผู้ป่วยที่มีผลจากห้องปฏิบัติการทั้ง 2 แห่ง ใส่ข้อมูล 2 ครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ 2 คน และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย EpiData 3.02 โอนข้อมูลโดย StatTranfer 8 วิเคราะห์ข้อมูลโดย STATA 9 ทดสอบความสอดคล้องของผลการทดสอบความไวต่อยา ด้วย kappa statistic ผลการศึกษา ระหว่างปี 2544-2550 มีผู้ป่วยที่มีผลการทดสอบความไวต่อยาจากห้องปฏิบัติการระดับประเทศทั้ง 2 แห่ง จำนวน 81 ราย ความสอดคล้องของผลการทดสอบความไว-ดื้อต่อยา INH ระหว่างห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง เท่ากับ 76.54% (kappa = 0.5349, p = 0.0000) ดังตารางที่ 1 ความสอดคล้องของผลการทดสอบความไว-ดื้อต่อยา Rifampicin ระหว่างห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง เท่ากับ 79.01% (kappa = 0.5565, p = 0.0000) ดังตารางที่ 2 ความสอดคล้องของผลการทดสอบความไวต่อยา ว่า MDR หรือไม่ ระหว่างห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง เท่ากับ 77.78% (kappa = 0.5193, p = 0.0000) ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 1 ความสอดคล้องของผลการทดสอบความไวต่อยา INH ผลการทดสอบของ Lab 1 ผลการทดสอบของ Lab 2 ไว ดื้อยา รวม ไว 27 4 31 ดื้อยา 15 35 50 รวม 42 39 81 ตารางที่ 2 ความสอดคล้องของผลการทดสอบความไวต่อยา Rifampicin ผลการทดสอบของ Lab 1 ผลการทดสอบของ Lab 2 ไว ดื้อยา รวม ไว 42 5 47 ดื้อยา 12 22 34 รวม 54 27 81 ตารางที่ 3 ความสอดคล้องของผลการทดสอบความไวต่อยาว่า MDR หรือไม่ ผลการทดสอบของ Lab 1 ผลการทดสอบของ Lab 2 ไม่ใช่ MDR MDR รวม ไม่ใช่ MDR 43 6 49 MDR 12 20 32 รวม 55 26 81 สรุปและวิจารณ์ผล ผลการทดสอบความไวต่อยาวัณโรคของห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง มีความสอดคล้องกันในระดับปานกลาง ความแตกต่างของผลการทดสอบความไวต่อยาระหว่างห้องปฏิบัติการเกิดขึ้นได้โดยเฉพาะเมื่อตัวอย่างเสมหะเป็นคนละตัวอย่าง แต่ในทางคลินิกผลการทดสอบที่ตรงกันข้ามกัน อาจทำให้ความสับสนในการตัดสินใจรักษาหรือการบริหารจัดการระบบบริการ ข้อเสนอแนะ ห้องปฏิบัติการวัณโรคระดับประเทศควรร่วมกันพัฒนาเกณฑ์การทดสอบความไวต่อยาวัณโรคสำหรับวิธีการทดสอบที่แตกต่างกันให้มีความสอดคล้องกันในระดับสูงสุด เอกสารอ้างอิง แนวทางแห่งชาติสำหรับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข คู่มือแนวทางบริหารจัดการโรควัณโรคอย่างครบวงจรในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2550-2551 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข