โดย ร.ศ.(พิเศษ)นายแพทย์ทวี โชติพิทยสุนนท์ การเตรียมความพร้อมการดูแลผู้ป่วย ไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ โดย ร.ศ.(พิเศษ)นายแพทย์ทวี โชติพิทยสุนนท์ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11, สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 1 มีนาคม 2555 กทม.
วงจรของโรคไข้หวัดใหญ่ในคน-สัตว์
Lessons Learned from AI (2004-9) Thailand
“ตายยกเล้า”
“เป็ดไล่ทุ่ง”
“ความสูญเสีย” มติชน : วันอังคารที่ 27 มกราคม 2547 Bangkok Post : Wednesday 28 January 2004
Epidemic curve of confirm H5 human cases in Thailand from 2004 to Sept. 2006 (25 cases with 17 dead in 4 waves) จำนวน (ราย) Acknowledge AI in poultry and human cases Declared AI free mobilize village health volunteers 2004 2005 2006 J A S Remark: 3097 Notification and investigation in 2004 3244 Notification and investigation in 2005 9000 Notification and investigation in 2006
Clinical Forms of Avain Influenza- H5N1 1. Asymptomatic 2. Mild URI 3. Influenza-liked-illness (ILI) - rare 4. Complications of influenza -common
ลักษณะทางคลินิกของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทย (พ.ศ.2547-2549) (2) ลักษณะทางคลินิกของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทย (พ.ศ.2547-2549) (2) อาการที่มาโรงพยาบาล ไข้ ไอ หอบ 100% เจ็บคอ 71% ปวดกล้ามเนื้อ 53% ท้องเสีย 41% น้ำมูกไหล 53% อาเจียน 24% ปวดท้อง 24%
CXR Finding of Patient 58 YO AI.Huachew.ppt CXR Finding of Patient 58 YO D 6 of Illness D 8 of Illness D 3 of Illness Dr. Tawee Chotpitayasunondh
Site of Influenza Virus Replication: Seasonal,Pandemic(H1N1) and Avain(H5N1) Seasonal Pandemic (H1N1) Avian (H5N1) Receptor of different influenza viruses
ระบบที่ดีต้องประกอบด้วย 1. “คน” แนวทางการดำเนินงานแผนเตรียมความพร้อม การดูแลรักษาไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ ระบบที่ดีต้องประกอบด้วย 1. “คน” 2. “ของ” 3. “สถานที่” (อะไรยากที่สุดในการเตรียมดำเนินงาน)
การดูแลรักษา
การคัดกรองผู้ป่วยไข้หวัดนก Infection Control การคัดกรองผู้ป่วยไข้หวัดนก
Clinical Practice Guideline for Human Avain Flu Dec.2005 Apr..2008
Hospital surveillance Guideline of screening for surveillance of Avian Influenza for physician and public health personnel (1) Hospital surveillance 1. Fever + RT symptom AND 2. History of contact* with sick/dead poultry within 7 day OR 3. Contact with pneumonia patient within 10 d. OR 4. Living in village with sick/dead poultry within 14 d. Registration office screening patient history Isolated OPD Interview history, P.E. Investigate as appropriate Clinical Management Working Group, Department of Medical Services, Ministry of Public Health, Thailand (19 December 2005-3 April 2008)
Guideline of screening for surveillance of Avian Influenza for physician and public health personnel (2) Known cause Unknown cause Follow up 48 hours Specific treatment CXR Rapid test (for Flu. A&B) Throat swab Nasopharyngeal swab specimen and blood collection for viral study
Guideline of screening for surveillance of Avian Influenza for physician and public health personnel (3) CXR-Normal CXR-Pneumonia Mild symptoms Severe symptoms Admit in isolation room as appropriate Antiviral Rx. Follow RT-PCR daily until known .Treatment per routine guideline Symptomatic treatment Antiviral Rx as appropriate Follow RT-PCR daily until known Admit as appropriate Clinical Management Working Group, Department of Medical Services, Ministry of Public Health, Thailand (3 April 2008)
( สำหรับพยาบาลคัดกรอง ) แบบฟอร์มคัดกรองผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ( สำหรับพยาบาลคัดกรอง ) ชื่อ…………………………………...สกุล …………………………... เพศ ชาย หญิง อายุ……………………. .HN. ……………………….. AN………………………….. ที่อยู่……………………………………………………………………………………….. 1. มีอาการไข้หวัดและปอดอักเสบ - มีไข้ มากกว่า 38 องศาเซลเซียล ไม่ มี มีวันที่……………………... - ไอ หายใจผิดปกติ ( เหนื่อย หอบ ) ไม่ มี มีวันที่……………………... 2.ประวัติเสี่ยงต่อการติดเชื้อ · ใน 10 วันก่อนเริ่มป่วยท่านเคยสัมผัสผู้ป่วยหรือมีบุคคลในบ้านป่วยเป็นปอดอักเสบหรือไม่ ไม่มี มีวันที่……………………... ·ใน 14 วันก่อนเริ่มป่วยท่านพักอาศัยในตำบลที่มีสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติหรือไม่ ไม่มี มีวันที่…………………….. ·ใน 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยท่านได้สัมผัสสัตว์ปีกป่วยหรือตายหรือไม่ ไม่มี มี วันที่……………………
Isolation room at OPD
Physical exam. by MD.
Specimens Collection from Upper respiratory tract Nasopharyngeal swab or Throat swab POSTERIOR NARES
การจัดการดูแลรักษาผู้ป่วยใน โรคไข้หวัดนก- H5N1
ระบบการดูแล/ส่งต่อผู้ป่วยสงสัย/เป็นไข้หวัดนก (H5N1) ในประเทศไทย ระดับสถานบริการ บุคลากร ความรุนแรงโรค สถานีอนามัย รพ.ชุมชน รพ.ทั่วไป รพ.ศูนย์ อสม, พยาบาล แพทย์ทั่วไป แพทย์ +ผู้เชี่ยวชาญ แพทย์+ผู้เชี่ยวชาญมาก ส่งต่อ (mild) pneumonia, ส่งต่อ pneumonia pneumonia, ARDS
การเตรียมบุคลากร-องค์ความรู้ AI.Huachew.ppt การเตรียมบุคลากร-องค์ความรู้ โรงพยาบาลกำแพงเพชรได้เสริมความรู้เรื่องไข้หวัดนกโดยเชิญอาจารย์ทวี โชติพิทยสุนันท์มาให้ความรู้และเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการแก่ทีมทำงานของโรงพยาบาล เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ในการวินิจฉัยและให้การดูแลผู้ป่วยรวมถึงป้องกันตนเองจากการติดต่อจากโรค จัดอบรมให้ความรู้จนท.โดยเชิญรศ.(พิเศษ) นพ.ทวี โชติพิทยสุนนท์ มาให้ความรู้ ( ภาพจาก รพ.กำแพงเพชร ) Dr. Tawee Chotpitayasunondh
2. การทำงานเป็นทีม ( ภาพจาก รพ.กำแพงเพชร )
การเตรียมสถานที่-เวชภัณฑ์-ระบบ AI.Huachew.ppt การเตรียมสถานที่-เวชภัณฑ์-ระบบ ในส่วนการเตรียมรับสถานการณ์ทางโรงพยาบาลได้จัดเตรียมสถานที่ตั้งแต่ห้องแยกเพื่อคัดกรองผู้ป่วย อาคารรับผู้ป่วยเข้าเป็นผู้ป่วยในแยกส่วนเฉพาะ เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ยาสำหรับผู้ป่วยเด็ก อุปกรณ์ป้องกันในเจ้าหน้าที่ และได้ปรับแนวทางการดูแลผู้ป่วยไข้หวัดนกของโรงพยาบาลกำแพงเพชรโดยประยุกต์ใช้จากแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข Dr. Tawee Chotpitayasunondh
Stockpiling and logistics Vaccine Antiviral drug Diagnostic test kits Respirators PPE 3 Mar 06
CXR Finding of Patient 8 YO D 4 of Illness D 8 of Illness
High Frequency Ventilation
"ทุกคนเตรียมตัว"
Isolation room: negative-pressure, AIIR in the ward
How to select room for Modified-AIIR? Pipe line and Other equipments ( Cost @ 8-10 time cheaper than AIIR )
Antiviral drug
ยาต้านไวรัส :Avian Flu 1. สำหรับการรักษา 2. สำหรับการป้องกัน
Survival in H5N1 Patients by Age Oseltamivir Use Survival by Age and Osetamivir Use (N=284) 49/72 13/20 28/58 23/58 % Survival 4/21 5/55 Age Group (years) ( Adisasmito W. JID 2010; 202: )
Relative Risk of Survival of H5N1-Patients Treated with Oseltamivir compared with Patients Who Did Not Receive Antiviral Treatment ( N = 221 ) Treatment initiation from symptom onset, days Difference in survival, % Relative risk 95% CI P 0 - 2 63 4.17 2.65 - 6.55 <.001 3 - 5 21 1.77 1.11 - 2.83 .032 6 - 8 1.74 1.10 - 2.75 .031 9 - 11 -5 0.88 0.34 - 2.23 .797 > 12 -31 0.52 0.20 - 1.34 .105 Any time 29 2.25 1.56-3.25 ( Adisasmito W. JID 2010; 202: )
New Antivirals Agent for Influenza Antivirals available can not cover severe case Need parenteral antiviral - IV Peramivir (cross resistant with oseltamivir) licensed in Japan, EUA in USA - IV Zanamivir (very useful) EUA in USA, Europe
การป้องกัน
การป้องกันโรคไข้หวัดนกในบุคลากรทางการแพทย์ AI.Huachew.ppt การป้องกันโรคไข้หวัดนกในบุคลากรทางการแพทย์ ดำเนินการเหมือนโรค SARS ห้องแยก ( modified AIIR , AIIR) เครื่องป้องกันตัวเอง (PPE) การกำจัดเชื้อโรคในอุปกรณ์ สารคัดหลั่ง Dr. Tawee Chotpitayasunondh
Wearing the appropriate PPE while working with suspected / confirmed AI patients . Goggle or Face shield . Mask (surgical or N 95) . Gown (surgical or water proof ) . Glove
การใช้ยา Tamiflu® เพื่อป้องกันไข้หวัดนก 1. สัมผัสร่วมบ้าน สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยยืนยันโรคไข้หวัดนก 2. บุคลากรทางการแพทย์ ที่สัมผัสผู้ป่วยที่ยืนยันโรคไข้หวัดนก โดย มิได้สวมใส่ PPE ที่เหมาะสม ภายใน 7 วันหลังสัมผัส 3. บุคลากรทำลายสัตว์ปีก ที่สัมผัสใกล้ชิด ทำลายสัตว์ปีกที่ยืนยันโรค ไข้หวัดนกโดยมิได้สวมใส่ PPE ที่เหมาะสม ภายใน 7 วันหลัง สัมผัส ให้ Tamiflu ขนาด ½ ของขนาดรักษา x 7-10 วัน
ไม่แนะนำ การให้ยาป้องกันในกรณี “ก่อนสัมผัส” ในโรคไข้หวัดนก (แนะนำใช้ PPE ที่เหมาะสมสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ทำลายสัตว์ ตลอดเวลา)
หลักการมาตรฐานในการป้องกันไข้หวัดใหญ่ และการผสมกลาย พันธุ์ของเชื้อไข้หวัดใหญ่ ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ประจำปี สวมใส่เครื่องป้องกันสำหรับบุคลากร ผู้ป่วยหยุดงาน ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ
THANK YOU