การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ. นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO  mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง Talent Management
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปการประชุมระดมความคิด
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ

นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO  mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people from tobacco smoke O ffer help to quit tobacco use W arn about the dangers of tobacco E nforce bans on advertising, promotion, sponsorship R aise taxes on tobacco products

The 5 A’s: Review ASK about tobacco USE ADVISE tobacco users to QUIT ASSESS readiness to make a QUIT attempt ASSIST with the QUIT ATTEMPT ARRANGE FOLLOW-UP care Fiore et al. (2000). Treating Tobacco Use and Dependence. Clinical Practice Guideline. Rockville, MD: USDHHS, PHS.

สรุปการประเมิน ความสามารถ ของประเทศไทย ในด้าน การควบคุม การบริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ

ข้อค้นพบสำคัญสำหรับความยั่งยืน  ความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากการร่วมมือเป็น อย่างดีของกลุ่มองค์กรเอกชนและผู้เชี่ยวชาญ ในการสนับสนุนการทำงานของภาครัฐ  ความสำเร็จที่ผ่านมาอาจกำลังทำให้มี ความก้าวหน้าช้าลง  งบประมาณส่วนใหญ่ได้จาก สสส. งบจาก รัฐบาลเองค่อนข้างน้อย  การประสานงานกันเป็นแบบไม่เป็นทางการเป็น ส่วนใหญ่  โครงสร้างพื้นฐานในการดำเนินงานของภาครัฐ ยังอ่อนแอ  โครงสร้างพื้นฐานขององค์กรเอกชนยังสามารถ ที่จะขยายออกไปได้อีก โดยเฉพาะในระดับราก หญ้า

ข้อเสนอแนะเพื่อความยั่งยืน  ควรเสริมสร้างความเข้มแข็งโดย ค้นหาและพัฒนาผู้นำที่จะสืบทอดต่อไปทั้งภาครัฐ และภาคประชาสังคม ภาครัฐควรเสริมความเข้มแข็งในการนำทางด้าน การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายและการกำหนดแผน และกลยุทธ์การดำเนินงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ  คงไว้และขยายศักยภาพด้านกลไกการ สนับสนุนงบประมาณแก่พื้นที่ในการควบคุมการ บริโภคยาสูบ  สร้างและรักษาบุคลากรที่จะดำเนินงานในทุก ระดับ  ควรมีการจัดทำแผนชาติด้านการควบคุมการ บริโภคยาสูบ

ข้อเสนอแนะด้านต่างๆ โดยสังเขป  พยายามเพิ่มราคาบุหรี่ต่อไปโดยการเพิ่มภาษี ให้สอดคล้องกับภาวะ เงินเฟ้อ และการเพิ่ม ภาษีบุหรี่มวนเอง  พยายามทำให้ภายในบริเวณอาคารต่างๆ ปลอดควันบุหรี่ 100%  ให้ความช่วยเหลือในการเลิกสูบบุหรี่แก่ผู้ที่ติด บุหรี่และผลักดันสู่ระบบการดูแลปฐมภูมิ  ควรมีระบบการติดตามกำกับทั้งด้านการควบคุม การบริโภคยาสูบและอุตสาหกรรมยาสูบ

โครงการในปี โครงการการใช้มาตรการการปกครองและ บริหารจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพการบังคับใช้ กฎหมายในสถานที่ราชการ (2,075,000 บาท ) 2. โครงการการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายแกนนำ เยาวชนต้านภัยยาสูบ (700,000 บาท ) 3. โครงการจัดทำนโยบายและแผนควบคุมการ บริโภคยาสูบแห่งชาติ (1,000,000 บาท ) 4. โครงการพัฒนานโยบายและกฎหมายเพื่อ ควบคุมยาสูบ (1,767,193 บาท )  โครงการพัฒนาการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การควบคุมการบริโภคยาสูบ (1,500,000 บาท )

โครงการ Toward 100% smoke free environment (69,000 USD)  การจัดทำโครงการศึกษากฎหมายใหม่ให้สอดคล้อง กับ FCTC  การอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่และองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพิ่มเติม  การประชุมชี้แจงกฎหมายใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง  การจัดตั้งเครือข่ายของผู้ที่ดำเนินการตามโครงการ สถานที่ทำงานปลอดบุหรี่  การวางแผนและกำหนดการจัดประชุมระหว่าง หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง  การจัดเวทีเสวนาเกี่ยวกับการจัดทำสิ่งแวดล้อมให้เป็น สถานที่ปลอดบุหรี่  การผลักดันกฎกระทรวง / ประกาศกระทรวงฯ หรือการ แก้ไขปรับปรุง พ. ร. บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ. ศ. 2535