การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ
นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people from tobacco smoke O ffer help to quit tobacco use W arn about the dangers of tobacco E nforce bans on advertising, promotion, sponsorship R aise taxes on tobacco products
The 5 A’s: Review ASK about tobacco USE ADVISE tobacco users to QUIT ASSESS readiness to make a QUIT attempt ASSIST with the QUIT ATTEMPT ARRANGE FOLLOW-UP care Fiore et al. (2000). Treating Tobacco Use and Dependence. Clinical Practice Guideline. Rockville, MD: USDHHS, PHS.
สรุปการประเมิน ความสามารถ ของประเทศไทย ในด้าน การควบคุม การบริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ
ข้อค้นพบสำคัญสำหรับความยั่งยืน ความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากการร่วมมือเป็น อย่างดีของกลุ่มองค์กรเอกชนและผู้เชี่ยวชาญ ในการสนับสนุนการทำงานของภาครัฐ ความสำเร็จที่ผ่านมาอาจกำลังทำให้มี ความก้าวหน้าช้าลง งบประมาณส่วนใหญ่ได้จาก สสส. งบจาก รัฐบาลเองค่อนข้างน้อย การประสานงานกันเป็นแบบไม่เป็นทางการเป็น ส่วนใหญ่ โครงสร้างพื้นฐานในการดำเนินงานของภาครัฐ ยังอ่อนแอ โครงสร้างพื้นฐานขององค์กรเอกชนยังสามารถ ที่จะขยายออกไปได้อีก โดยเฉพาะในระดับราก หญ้า
ข้อเสนอแนะเพื่อความยั่งยืน ควรเสริมสร้างความเข้มแข็งโดย ค้นหาและพัฒนาผู้นำที่จะสืบทอดต่อไปทั้งภาครัฐ และภาคประชาสังคม ภาครัฐควรเสริมความเข้มแข็งในการนำทางด้าน การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายและการกำหนดแผน และกลยุทธ์การดำเนินงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ คงไว้และขยายศักยภาพด้านกลไกการ สนับสนุนงบประมาณแก่พื้นที่ในการควบคุมการ บริโภคยาสูบ สร้างและรักษาบุคลากรที่จะดำเนินงานในทุก ระดับ ควรมีการจัดทำแผนชาติด้านการควบคุมการ บริโภคยาสูบ
ข้อเสนอแนะด้านต่างๆ โดยสังเขป พยายามเพิ่มราคาบุหรี่ต่อไปโดยการเพิ่มภาษี ให้สอดคล้องกับภาวะ เงินเฟ้อ และการเพิ่ม ภาษีบุหรี่มวนเอง พยายามทำให้ภายในบริเวณอาคารต่างๆ ปลอดควันบุหรี่ 100% ให้ความช่วยเหลือในการเลิกสูบบุหรี่แก่ผู้ที่ติด บุหรี่และผลักดันสู่ระบบการดูแลปฐมภูมิ ควรมีระบบการติดตามกำกับทั้งด้านการควบคุม การบริโภคยาสูบและอุตสาหกรรมยาสูบ
โครงการในปี โครงการการใช้มาตรการการปกครองและ บริหารจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพการบังคับใช้ กฎหมายในสถานที่ราชการ (2,075,000 บาท ) 2. โครงการการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายแกนนำ เยาวชนต้านภัยยาสูบ (700,000 บาท ) 3. โครงการจัดทำนโยบายและแผนควบคุมการ บริโภคยาสูบแห่งชาติ (1,000,000 บาท ) 4. โครงการพัฒนานโยบายและกฎหมายเพื่อ ควบคุมยาสูบ (1,767,193 บาท ) โครงการพัฒนาการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การควบคุมการบริโภคยาสูบ (1,500,000 บาท )
โครงการ Toward 100% smoke free environment (69,000 USD) การจัดทำโครงการศึกษากฎหมายใหม่ให้สอดคล้อง กับ FCTC การอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่และองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพิ่มเติม การประชุมชี้แจงกฎหมายใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง การจัดตั้งเครือข่ายของผู้ที่ดำเนินการตามโครงการ สถานที่ทำงานปลอดบุหรี่ การวางแผนและกำหนดการจัดประชุมระหว่าง หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง การจัดเวทีเสวนาเกี่ยวกับการจัดทำสิ่งแวดล้อมให้เป็น สถานที่ปลอดบุหรี่ การผลักดันกฎกระทรวง / ประกาศกระทรวงฯ หรือการ แก้ไขปรับปรุง พ. ร. บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ. ศ. 2535