การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การจัดทำการบริหารจัดการความต่อเนื่องเพื่อเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การซักซ้อมแผนสื่อสารความเสี่ยงเพื่อตอบโต้ภาวะ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHER) กรมควบคุมโรค ปี
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
วิสัยทัศน์โรคติดต่อนำโดยแมลง 2018
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
รูปแบบการฝึกซ้อม (Types of exercise)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
สัมมนาวิชาการโรคติดต่อที่ก่อให้เกิดความรุนแรงทางระบาดวิทยา
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ กรมควบคุมโรค วันที่ 9 มิถุนายน 2554

หัวข้อบรรยาย สถานการณ์โรค - ไข้หวัดนก,ไข้หวัดใหญ่ ,โรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค แนวทางการซักซ้อมหรือฝึกซ้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ในปี 2554 ความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมโรค กรม ปภ. และ สำนักงาน ปภ. จังหวัด

โรคไข้หวัดนก ในคน

ณ 3 มิถุนายน 54 178 / 146

การควบคุมไข้หวัดนก (H5N1) พ.ศ. 2547- 2554(พค) สถานการณ์ / ความเสี่ยง ทั่วโลก ปี 2547- พค 2554 ระบาดในสัตว์ปีกกว่า 65 ประเทศ ผู้ป่วย 553 ตาย 323 ใน 15 ประเทศ ไทย ในสัตว์ปีกระบาดมาก ปี 2547 – 2549 มีผู้ป่วย 25 ตาย 17 ราย (ม.ค.2547- ส.ค.2549) เชื้อทั่วโลก แพร่ระบาดโดยการเคลื่อนย้ายของสัตว์ปีกเลี้ยงและนกอพยพ ความเสี่ยงของไทยยังมีอยู่ คนอาจติดเชื้อ ป่วย ตาย ผลงาน ควบคุมโรคได้ดี ไม่มีผู้ป่วยกว่า 5 ปี ลดผลกระทบได้ ระบบป้องกันการติดเชื้อใน รพ. ได้พัฒนาต่อเนื่อง ระบบการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เข้มแข็งขึ้นมาก มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ จนถึงชุมชน ปศุสัตว์ / ปภ. สาธารณสุข 5 5

เมษายน 2552 โลกตระหนกไข้หวัดใหญ่ 2009 ระบาดไปแล้ว 178 cases confirmed to date in Indonesia, 146

สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ - 1 มิถุนายน 54 2554 2553

โรคติดต่ออุบัติใหม่ (EIDs) หมายถึง โรคติดต่อที่มีการเกิดโรคในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ ประเทศไทย ได้พบการระบาดของไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่ 2009 ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังพบการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่อื่นๆ อีก เช่น โรคชิคุนกุนยา , มือ เท้า ปาก , ไข้กาฬหลังแอ่น , เมลิออยโดสิส , ลีเจียนแนร์ , โบทูลิซึม และแอนแทรกซ์ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้พบได้ในกลุ่มประชาชนทั่วไปหรืออาจเข้ามากับแรงงานต่างด้าว ทั้งในและต่างประเทศได้ โรคติดต่ออุบัติใหม่ หมายถึง โรคติดต่อที่มีการเกิดโรคในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ สำหรับประเทศไทยนอกจากพบการระบาดของไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่ 2009 ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีโรคติดต่ออุบัติใหม่อื่นๆ อีก เช่น โรคชิคุนกุนยา , มือ เท้า ปาก , ไข้กาฬหลังแอ่น , เมลิออยโดสิส , ลีเจียนแนร์ , โบทูลิซึม และแอนแทรกซ์ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้พบได้ในกลุ่มประชาชนทั่วไปหรืออาจเข้ามากับแรงงานต่างด้าว ทั้งในและต่างประเทศได้

ประเทศไทยควรสนใจโรคใดบ้าง การเดินทาง ท่องเที่ยว ธุรกิจ การค้าขาย การรุกพื้นที่ป่า ขยายพื้นที่เกษตรกรรม การอพยพย้ายถิ่น การบริโภคสัตว์ป่า นำเข้าสัตว์ต่างถิ่น อื่นๆ สภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด ภาวะ โลกร้อน ปัจจัย เสริมอื่นๆ

โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด มาลาเรีย ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) ไข้สมองอักเสบ โรคเท้าช้าง วัณโรค ไข้รากสาด ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ โรคฉี่หนู (leptospirosis) โรคติดต่อ อื่นๆ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ อุจจาระร่วงอีโคไล O104 ไข้หวัดนก โรคซารส์ กาฬโรค ลิชมาเนีย อาวุธชีวภาพ วัณโรคดื้อยา เชื้อแบคทีเรียดื้อยา ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด

โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด มาลาเรีย ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) ไข้สมองอักเสบ โรคเท้าช้าง วัณโรค ไข้รากสาด ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ โรคฉี่หนู (leptospirosis) โรคติดต่อ อื่นๆ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ HFMD (EV71) ไข้หวัดนก โรคซารส์ กาฬโรค ลิชมาเนีย อาวุธชีวภาพ วัณโรคดื้อยา เชื้อแบคทีเรียดื้อยา ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด

โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด มาลาเรีย ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) ไข้สมองอักเสบ โรคเท้าช้าง วัณโรค ไข้รากสาด ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ โรคฉี่หนู (leptospirosis) โรคติดต่อ อื่นๆ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ HFMD (EV71) ไข้หวัดนก โรคซารส์ กาฬโรค ลิชมาเนีย อาวุธชีวภาพ วัณโรคดื้อยา เชื้อแบคทีเรียดื้อยา ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด

ปัญหาโรคระบาด อยู่ที่ไหน? อยู่ตรงนี้ อยู่ที่คาด.....ไม่ ....... ถึง

ปัญหาโรคระบาด อยู่ที่ไหน? คาดไม่ถึง ...จึงหลุด หลุดวินิจฉัย จึงหาไม่พบ หลุดรักษา จึงไม่หาย หลุดควบคุม จึงระบาด หลุดป้องกัน จึงเกิดซ้ำ หลุดเตรียมตัว จึงไม่พร้อม

แนวทางการป้องกันควบคุมโรค ทำอย่างนี้จะดีไหม เพื่อไม่ให้หลุด ค้นหาให้พบ (Early detection) ดูแลรักษาให้ปลอดภัย (Effective management and infection control) รีบเตือนภัย เร่งรายงาน (Early warning / reporting) เตรียมตัวให้พร้อม (Preparedness planning) นอกจากนี้ ยังมีอีกไหม?

วงจร การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง อุบัติการณ์ การทบทวน การประเมินผล การวางแผน การฝึกอบรม/ การศึกษา ระบุ ความต้องการ วงจร การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง

รูปแบบ การจัดการ การฝึกซ้อม บรรยายสรุป การฝึกซ้อม ในเชิงลึก การระบุ ความต้องการ รูปแบบ การจัดการ การฝึกซ้อม (The exercise management model) ประเมินผล การฝึกซ้อม ประเมิน ความต้องการ บรรยายสรุป การฝึกซ้อม ในเชิงลึก ออกแบบ การฝึกซ้อม ดำเนินการ การฝึกซ้อม

รูปแบบการฝึกซ้อมแผน อภิปรายผล ชนิดบนโต๊ะ ฝึกปฏิบัติการเฉพาะด้าน (Orientation) ฝึกปฏิบัติการตามบทบาทหน้าที่ (Functional Exercise) รูปแบบการฝึกซ้อมแผน ชนิดบนโต๊ะ (Tabletop exercise) ฝึกปฏิบัติการเฉพาะด้าน (Drill) 2

ประสาน สั่งการ วัตถุประสงค์ การฝึกซ้อมแผนของจังหวัด กระบวนการฝึกซ้อมใกล้เคียงกับสถานการณ์จริงและปฏิบัติได้จริง ปรับปรุงแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการให้สมบูรณ์มากขึ้น ปรับปรุงกลไกการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังควบคุมโรค ประสาน สั่งการ สนับสนุน ทรัพยากร ดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วยเหลือในชุมชน ทุกฝ่ายเข้าใจร่วมใจกัน ประสานสัมพันธ์ทำงานร่วมกันดั่งฟันเฟือง

สาธารณภัย ตามแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 สาธารณภัย ตามแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ภัยธรรมชาติ อุทกภัย วาตภัย โคลนถล่ม ภัยแล้ง แผ่นดินไหว อาคารถล่ม ไฟป่า หมอกควัน อากาศหนาวจัด โรคระบาดในพืช โรคระบาดในสัตว์ ภัยร้ายแรงจากโรคระบาดในคน ภัยสึนามิ ภัยจากน้ำมือมนุษย์ อัคคีภัย ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย อุบัติเหตุร้ายแรง

ความต้องการสนับสนุน รูปแบบการฝึกซ้อมที่เหมาะสม ที่เป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน เช่น กลุ่มจังหวัด หรือ 3 หน่วยงาน ควรร่วมมือระหว่าง ปภ กับ สธ จัดทำแผนและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน และกำหนดเวลาที่ตรงกัน ให้มีการซ้อมแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การตั้งงบประมาณในงานเฝ้าระวัง การใช้กฎหมาย , พรบ สาธารณสุข

สวัสดีค่ะ