การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนภูมิพล การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์
แหล่งผลิตไฟฟ้ากังหันลม
เสาส่งไฟฟ้าแรงสูง
สถานีไฟฟ้า
โครงสร้างองค์กรการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย คณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผู้ว่าการ รองผู้ว่าการนโยบายและแผน รองผู้ว่าการ บัญชีและการเงิน รองผู้ว่าการบริหาร รองผู้ว่าการ พัฒนา รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า รองผู้ว่าการเชื้อเพลิง รองผู้ว่าการ ระบบส่ง รองผู้ว่าการ กิจการสังคม รวม.. 170 ..ฝ่าย ผู้ปฏิบัติงาน 23,000 คน
แผนประคองธุรกิจ:ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ กฟผ แผนประคองธุรกิจ:ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ กฟผ
คณะกรรมการวางแผนรับไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ กฟผ รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยผู้ว่าการบริการ รวฟ. รวส. รวพ. รวผ. รวช. รวค. รวบ. รวห. อวท. อทบ. อรป. อพอ. อบก. อสอ ฝ่ายแพทย์และอนามัย(อพอ.) เลขานุการ/FLU MANAGER กฟผ
วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันพนักงานมิให้เจ็บป่วย 2. ให้การดำเนินการขององค์กรยังคงมีต่อเนื่องระหว่างการ ระบาดใหญ่ 3. ร่วมมือกับภาครัฐในการลดผลกระทบจากการระบาด ในด้าน เศรษฐกิจและสังคม
คณะกรรมการวางแผนรับการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ กฟผ คณะกรรมการวางแผนรับการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ กฟผ
นำเสนอผลกระทบและการเตรียมความพร้อมฯ ที่ประชุม สายงานรอง ผลิตไฟฟ้า นำเสนอผลกระทบและการเตรียมความพร้อมฯ ที่ประชุม สายงานรอง ผลิตไฟฟ้า
การอบรมและฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผนประคองธุรกิจ: ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่
1 การวางแผนสอดคล้องกับระดับและความรุนแรงการระบาด แนวทางการจัดทำแผน 1 การวางแผนสอดคล้องกับระดับและความรุนแรงการระบาด 2 แผนประคองกิจการ ควรประกอบด้วย ส่วนสำคัญ การเตรียมการเริ่มต้น : จัดตั้งคณะทำงาน ฯ การป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค การดำเนินภารกิจหลักอย่างต่อเนื่อง
3 .กำหนดกิจกรรมและมาตรการสำคัญ (กรณีตัวอย่าง ไข้หวัดใหญ่) 3 .กำหนดกิจกรรมและมาตรการสำคัญ (กรณีตัวอย่าง ไข้หวัดใหญ่) 1. กำหนดคณะทำงาน คณะจัดทำแผน ฯ ผู้จัดการไข้หวัดใหญ่ ศูนย์อำนวยการและประชาสัมพันธ์ 2. การติดต่อสื่อสารและช่องทางสื่อสารกับผู้ปฏิบัติงาน ข่าวสารของสถานการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่และการเปลี่ยนแปลง การประกาศใช้แผนและมาตรการต่างๆที่ต้องปฏิบัติ การปฏิบัติงานที่มีการปรับเปลี่ยน การทำงานจากที่บ้าน 3. กำหนดมาตรการด้านการแพทย์และการปฎิบัติงานเพื่อลดการติดเชื้อโรคและการแพร่กระจายโรค แจกจ่ายหน้ากากอนามัย ติดตั้งเจลแอลกอฮอล์ การทำความสะอาดพื้นผิว การคัดกรองผู้มีไข้และสงสัยว่าป่วย / การเฝ้าระวังผู้สัมผัสผู้ป่วย การเหลีกเลี่ยงการเดินทางในพื้นที่ระบาด / หยุดงานเมื่อป่วยโดยไม่ถือเป็นวันลา 4. การกำหนดภารกิจสำคัญของหน่วยงานที่จำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องในช่วงที่มีการระบาดใหญ่ 5. การกำหนดผู้ปฏิบัติงานในหน้าที่สำคัญของหน่วยและจัดทำบัญชีผู้รับผิดชอบหลักและผู้ทำงานทดแทน 6. กำหนดแหล่งสนับสนุนวัตถุดิบ / หน่วยงานสนับสนุนจากภายนอก / หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ 7. การเตรียมเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ที่จำเป็นสำรองคลังให้เพียงพอ 8. การฝึกซ้อมแผนและปรับปรุงแผน แก้ไขจาก หน้าที่ 3 slide ที่ 6
ประชุมคณะกรรมการเตรียมความพร้อมรับไข้หวัดใหญ่ ฯ
อบรม ผู้จัดการไข้หวัดใหญ่ (FLU MANAGER) กฟผ
ฝึกซ้อมแผนฯ โรงไฟฟ้าบางปะกง
รณรงค์การล้างทำความสะอาดมือ
รณรงค์การล้างทำความสะอาดมือ
เพิ่มความถี่การทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัส
คลินิกโรคหวัด-ไข้หวัดใหญ่
คลินิกโรคหวัด-ไข้หวัดใหญ่
สวัสดี