VDO conference dengue 1 July 2013
ข้อสั่งการปลัดผ่าน VDO conference ติดตามผ่าน VDO conference ทุก 2 สัปดาห์ ให้เปิด war room ทุกจังหวัด จัดตั้ง 5 เสือ ดูแลไข้เลือดออก ทุกจังหวัด อำเภอ สคร. 1 คน ทำงานร่วมกับ ผชช.ว (Mr Dengue) และ รองแพทย์ (Dr. Dengue) โรงพยาบาลทั่วไป ระดับจังหวัด ผู้แทนโรงพยาบาลชุมชน 1 คน ทำงานร่วมกับ สาธารณสุขอำเภอ (SRRT อำเภอ) มอบสคร. ประเมินผล รายงานผู้ตรวจ HI ชุมชน, CI โรงเรียน, CI โรงพยาบาล War room จังหวัด SRRT อำเภอ สถานการณ์โรคชี้เป้าถึงระดับอำเภอ ตำบล มอบกรมฯ Risk communication ประเมินผลภาพรวม
สิ่งที่สคร.ต้องดำเนินการ มอบหมายผู้รับผิดชอบรายจังหวัด ระเบียนรายชื่อ 5 เสือของจังหวัดในเขต พร้อมเบอร์โทร ขับเคลื่อนการทำงานผ่านผู้ตรวจราชการ ขอให้ผอ.สคร. ลงพื้นที่เพื่อประสานให้ผู้ว่าราชการดำเนินการเปิด war room และหากมีการระบาดหรือเสียชีวิตต่อเนื่องเพื่อประเมินสถการณ์และให้คำแนะนำ
หัวข้อและชุดคำถามสำหรับการประเมิน war room ประธานคือ?, ความถี่ในการประชุม, ประสิทธิภาพการสั่งการ SRRT มีการสอบสวนควบคุมการระบาดอย่างไร? ทันเวลา? มีผู้ป่วยต่อเนื่องในพื้นที่หลังการสอบสวนอย่างไร? Dengue corner ดำเนินการหรือไม่ อย่างไร สถานการณ์ จำนวนและการกระจาย, อำเภอและตำบลที่ต้องเน้นหนัก การระบาดที่พบ สาเหตุการเสียชีวิต จาก dead case conference HI, CI ในโรงพยาบาล โรงเรียน
แนวทางการดำเนินงาน Dengue corner 1. การตรวจคัดกรองตามแนวทาง CPG สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ 2. ให้ผู้ป่วยทายากันยุง 3. การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยสงสัยที่จะกลับบ้านประกอบด้วย: – แพทย์สงสัยว่าท่านป่วยเป็นไข้เลือดออก – แพทย์จะยังไม่รับไว้ในโรงพยาบาล – ท่านจะมีอาการไข้สูงลอย ในวันที่ 3-4 นับจากมีไข้วันแรกจะอยู่ในช่วงวิกฤต หากกลับบ้านแล้วมีอาการกินไม่ได้ อาเจียน ให้มาพบแพทย์ – ให้ผู้อยู่ร่วมบ้านฉีดยาฆ่ายุงและสำรวจเพื่อกำจัดลูกน้ำ – แจ้งเตือนเพื่อนบ้านว่าไข้เลือดออกระบาดในหมู่บ้าน ให้ร่วมกันกำจัดลูกน้ำ
องค์ประกอบ Dengue corner Staff: พยาบาลคัดกรอง มีความรู้เรื่องไข้เลือดออก Structure: เครื่องมือตรวจ vital sign ยาทากันยุง เอกสารแนะนำการสังเกตอาการ และการปฏิบัติตัว CPG หรือ แผนภูมิการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วย Support:
ไม่มี -> -ตรวจ CBC ถ้ามีไข้มากกว่า 48 ชม. ไข้สูง> 38.5oC ไม่มีอาการเฉพาะ การตรวจคัดกรองที่แผนกผู้ป่วยนอกในรพช. [อ้างอิงสำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2547] ตรวจทูนิเกต์ บวก ลบ ซักประวัติตรวจร่างกาย ปวดท้องมาก อาเจียนมาก เลือดออก มีภาวะขาดน้ำ ช็อค (pulse pressure แคบเช่น 100/80 mmHg) ความดันต่ำ ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็น เหงื่อออก ระบบไหลเวียนโลหิตปลายมือปลายเท้าไม่ดี capillary refill>2 วินาที ให้การรักษาเบื้องต้น นัดตรวจติดตามถ้าอาการทั่วไปดี ไม่มีภาวะช็อคหรือขาดน้ำ ตรวจทูนิเกต์ซ้ำ ในกรณีมีไข้มากกว่า 48 ชั่วโมงให้พยายามหาสาเหตุ ไม่มี -> -ตรวจ CBC ถ้ามีไข้มากกว่า 48 ชม. -นัดตรวจติดตาม หรือพิจารณา admit มี -> admit