สมบัติของคลื่น การสะท้อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
น้ำหนักแสงเงา.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
งานและพลังงาน (Work and Energy).
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
ความหมายและชนิดของคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
T.O.O.B Dome Screen จอโดม เพิ่มประสบการณ์ 3D ให้กับ Game Pracha rattano It 51 Creator. Feature. ผู้ประดิษฐ์ ลักษณะ จุดเด่น Reference. แหล่งข้อมูลอ้างอิง.
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมบัติของคลื่น การสะท้อน การสะท้อนของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปชนกับสิ่งกีด ขวาง หรือกระทบรอยต่อระหว่างตัวกลาง ทำให้คลื่นส่วนหนึ่ง เคลื่อนที่กลับมายังตัวกลางเดิม โดยมีลักษณะดังต่อไปนี้

1. เป็นไปตามกฎการสะท้อนที่ว่า 1. ) มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน 2 1.เป็นไปตามกฎการสะท้อนที่ว่า 1.) มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน 2.) ทิศทางการของคลื่นตกกระทบ คลื่นสะท้อน และเส้นปกติ อยู่ใน ระนาบเดียวกัน 2. ความถี่ ความยาวคลื่น อัตราเร็ว จะคงเดิมเสมอ 3. ถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงาน แอมพลิจูดของคลื่นจะคงเดิม แต่ถ้ามีการสูญเสีย พลังงานแอมพลิจูดของคลื่นสะท้อนจะลดลง

การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาง หนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ทำให้ความเร็วคลื่นและความยาว คลื่นเปลี่ยนไป แต่ความถี่คงเดิม การหักเหของคลื่นมีผลทำให้อัตราเร็วคลื่นและความยาว คลื่นเปลี่ยน แต่ทิศการเคลื่อนที่จะเปลี่ยนหรือคงเดิมก็ได้ ขึ้นอยู่ กับ

1. ถ้าทิศของคลื่นตกกระทบตั้งฉากกับรอยต่อ หรือหน้าคลื่นตก กระทบขนานกับรอยต่อระหว่างตัวกลางทิศของคลื่นที่หักเหที่ ผ่านไปอีกตัวกลางหนึ่งจะไม่เปลี่ยนแปลง 2. ถ้าทิศของคลื่นตกกระทบทำมุมกับรอยต่อ หรือหน้าคลื่นตก กระทบทำมุมกับรอยต่อระหว่างตัวกลางทิศของคลื่นที่หักเหที่ ผ่านไปอีกตัวกลางหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงดังรูป

กรณีน้ำลึก คลื่นจะมีอัตราเร็วมาก ความยาวคลื่นมาก มุม ตกกระทบและมุมหักเหจะใหญ่ กรณีน้ำตื้น คลื่นจะมีอัตราเร็วน้อย ความยาวคลื่นน้อย มุมตกกระทบหรือมุมหักเหจะเล็ก

มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบใดๆ ที่ทำให้แนวการหักเหทำ มุม 90 องศากับเส้นปกติ การสะท้อนกลับหมด เกิดขึ้นเมื่อทิศของคลื่นตกกระทบ โตกว่ามุมวิกฤต ทำให้เกิดคลื่นสะท้อนกลับในตัวกลางเดิม

𝒔𝒊𝒏 𝜽 c = 𝐯𝟏 𝐯𝟐 กรณีการหักเหของคลื่นน้ำ จะเกิดมุมวิกฤตได้เมื่อคลื่น เคลื่อนที่จากบริเวณน้ำตื้นเข้าสู่บริเวณน้ำลึก