โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

Knowledge Management (KM)
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
K M คือ Knowledge Management
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
Workshop การจัดการความรู้
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
(Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
คณะทำงานจัดการองค์ความรู้
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
น.พ.บวร งามศิริอุดม สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 15,17
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
Learning Organization & Knowledge Management
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ “ การเรียนรู้ที่เป็นสุข ” โครงการสัมมนาโรงเรียนทันตแพทย์ สร้างสุข คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร 4 – 6 ธันวาคม 2549.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การสังเคราะห์ (synthesis)
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ) KM Workshop สำหรับนิสิตฝึกสอนคณะศึกษาศาสตร์ วันศุกร์ที่ 26 มกราคม 2550 ณ ห้องสัมมนา 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดย รศ.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย รองคณบดีฝ่ายวางแผนละพัฒนาคุณภาพ

นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของคณะศึกษาศาสตร์ ด้านวิชาการ (เก่ง) ด้านคุณธรรมจริยธรรม (ดี) ด้านทักษะ (มีความสามารถในการสอนอย่างมีความสุข)

การจัดการความรู้ เน้นที่การปฏิบัติ (Practice) แนบแน่นกับงานประจำ ความสำคัญอยู่ที่ผู้ปฏิบัติงาน การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ (Mean)

( Knowledge Management ) การจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) งาน การพัฒนาคน คือ เครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาองค์กร ความเป็นชุมชน

ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ความรู้ที่อยู่ในตำรา Tacit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ความรู้ Explicit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตำรา Tacit : Explicit = 80 : 20

หลักและกติกาสำหรับ Storytelling (ลปรร.) พูด เล่าออกมาจากใจ ทำให้เป็นธรรมชาติ ไม่ต้อง เสแสร้ง แกล้งทำให้ดูดี ถึงเรื่องราวความสำเร็จของนิสิต ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ฟัง อย่างตั้งใจ ไม่ต้องตอบโต้ ไม่ตัดสินประเด็นความ ไม่ตัดสินผู้อื่น เสร็จแล้วให้ช่วยกันตีความว่า ความสำเร็จ นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร สร้างบรรยากาศ เชิงบวก ชื่นชมยินดี เคารพความแตกต่าง สร้างความเป็นอิสระ ให้ความเท่าเทียม ไม่เอาเรื่องคุณวุฒิวัยวุฒิ หรือตำแหน่งมาขวางกั้น ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ จดบันทึก โดยย่อ เน้นวิธีปฏิบัติ ไม่เน้นทฤษฎี

Deep Listening : ตั้งใจฟังโดยไม่ตัดสิน “การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์ สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข” โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี

รวมกลุ่ม จัดเป็นหมวดหมู่ Card Technique ภาพรวมของ Workshop รอบแรก ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน)  เตรียมใจ (2 นาที) ผู้สังเกตการณ์ ประธาน 1 2 เลขาฯ KSF SS ชื่อ สถาบัน NO. Knowledge Assets รอบสอง Storytelling ความสำเร็จ / ความภาคภูมิใจ “ความสำเร็จในการฝึกประสบการณ์” (5 นาที / คน ทดเวลา 5 นาที ซักถาม) จดบันทึก เน้นวิธีปฏิบัติ 10 3 1. 2. 3. 9 4 ปฏิบัติ 8 5 รวมกลุ่ม จัดเป็นหมวดหมู่ Card Technique ปฏิบัติ 7 6 ปฏิบัติ Core Competence 1 Success Story Mapping (ความสำเร็จในการฝึกประสบการณ์) ใช้ ICT เช่น KnowledgeVolution 2 3 ............. 10 จัดทำ Key Success Factors http://gotoknow.org/planet/nuqakm

KA KS KV Model “ปลาทู” “คุณกิจ” Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator : KF KA KS KV “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner : KP “คุณกิจ”

เรื่องเล่าความสำเร็จ (Storytelling) ต้องเป็นกลุ่มเล็กไม่เกิน 10 คน เพื่อให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการ สร้างความรู้สึกเป็นอิสระได้ง่าย ความรู้สึกแบบนี้เอื้อต่อการเล่าเรื่องอย่างมีพลัง ทำให้ความรู้ฝังลึก และซ่อนอยู่มิดชิดจนตัวเองก็ไม่รู้ว่าตนรู้ ถูกปลดปล่อยออกมาได้ง่ายขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยบรรยากาศ สมาชิกกลุ่มเป็น “ตัวจริง” ซึ่งหมายความว่า เป็นผู้ปฏิบัติงานเพื่อการบรรลุ “หัวปลา” ที่ตกลงกัน ด้วยตนเอง กลุ่มวิจัย กลุ่ม QA + ต่างคณะ

เรื่องเล่าความสำเร็จ (Storytelling) ดึงความรู้ที่อยู่ในคน (tacit K) ออกมา : คนละ 5 นาที มี คุณอำนวย ทำหน้าที่ดำเนินการ ประชุมและสรุปประเด็น เป็นระยะๆ มี คุณลิขิต บันทึกลงบน Flip Chart และสกัดประเด็นที่ได้จากเรื่องเล่าใน Card

เนี่ย ! ถ้าไม่ได้ชั้นนะเธอ เสร็จแน่ขอบอก.. Storytelling : tips ผู้เล่า เล่าเรื่องโดยไม่ตีความ เล่าให้เห็นตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง เห็นปัญหาอุปสรรคก่อนที่จะสำเร็จ เห็นอารมณ์ความรู้สึกว่าทำไมจึงตัดสินใจทำอย่างนั้น เห็นบรรยากาศการทำงานขณะนั้น เนี่ย ! ถ้าไม่ได้ชั้นนะเธอ เสร็จแน่ขอบอก..

Deep Listening : tips ผู้ฟัง ฟังอย่างตั้งใจ ไม่เสนอข้อแนะนำใดๆ เช่น ทำไมไม่ทำแบบ แบบนี้ เป็นต้น แต่ซักถามในลักษณะขอข้อมูลเพิ่มได้ เก่งจัง ทำได้ไงเนี่ย ?

สร้างขุมความรู้ (Knowledge Assets) KF, NT ประสานงานกลุ่ม KP ช่วยกันจัดกลุ่มประเด็นที่เหมือน/คล้ายกัน (การ์ด) ไว้ด้วยกัน ติดบน Flip chart เพื่อจะได้ดูพร้อมๆ กัน ประเด็นก็คือ ผู้บังคับบัญชา ไม่สนับสนุนใช่มั้ยคะ

สร้างขุมความรู้ (Knowledge Assets) การจับประเด็น ใช้ข้อความ หรือถ้อยคำ ที่สื่อถึงความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit K) หรือเป็นความรู้จากการปฏิบัติ ไม่ใช่ทฤษฎี พยายามหลีกเลี่ยง ข้อความหรือถ้อยคำที่ท่านเคยอ่านมาแล้ว หรือใช้ในงานเขียนเชิงวิชาการ ที่ผ่านมา ตรวจสอบ “ขุมความรู้” ของกลุ่มอีกครั้ง ว่าถ้อยคำที่ใช้นั้นสื่อถึงความรู้เชิงปฏิบัติเพียงใด

สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) รวมตัวเป็นกลุ่มใหญ่

สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) แต่ละกลุ่มนำกระดาษการ์ดที่เขียนประเด็น “ขุมความรู้” มารวมกันทั้งหมด ช่วยกันพิจารณาว่า มีประเด็นใดที่ซ้ำกันบ้าง? และมีประเด็นใดบ้างที่เข้าข่ายเป็นกลุ่ม หรือ ประเภทเดียวกัน ช่วยกันจัดกลุ่มประเด็น “ขุมความรู้” ออกเป็นหมวดหมู่ ไม่น้อยเกินไป หรือไม่มากเกินไป (>6 หรือ <12 หมวด) สร้างถ้อยคำหรือข้อความของหมวดหมู่ประเด็นขุมความรู้ที่ต้องการสื่อถึงในลักษณะ “ความสามารถ/สมรรถนะ” ที่ทำให้การฝึกสอนประสบผลสำเร็จ เป็นแก่นความรู้