เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
Patient Safety Walk Rounds :
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
สิ่งแวดล้อมที่ดี ทำให้ชีวีมีสุข
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
แผนคำของบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM) การจัดการความขัดแย้ง อย่างสร้างสรรค์ เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)

ที่มา ข้อขัดแย้ง พฤติกรรมบริการ การไม่ฟังผู้ป่วย /ญาติ ความผิดพลาด ในการสื่อสาร คุณภาพการบริการ การให้ข้อมูล

เป้าหมาย เพื่อลดความรุนแรงของข้อขัดแย้ง/พิพาทในการบริการ และให้ความขัดแย้ง/พิพาทยุติโดยเร็วในที่เกิดเหตุ ก่อนเข้าสู่การร้องเรียนที่รุนแรงหรือการฟ้องร้อง เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ และรักษาชื่อเสียงของบุคลากรและองค์กร 3

วิธีดำเนินการ 1.จัดทำแนวปฏิบัติเรื่อง การปฏิบัติกรณีผู้ป่วยไม่พึงพอใจการ บริการหรือทะเลาะกับเจ้าหน้าที่ และFlow การจัดการข้อร้องเรียน 4

วิธีดำเนินการ 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์ 5

วิธีดำเนินการ 3. เมื่อได้รับแจ้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์ประจำศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ โดยปฏิบัติตามเทคนิค HEAT(Hear Empathize Apologize Take action) 6

วิธีดำเนินการ HEAT สรุปข้อมูล/รายงานเหตุการณ์/ แจ้งผลกลับ ส่งต่อ 7

วิธีดำเนินการ 4. ติดตามประเมินผลทุก 1 เดือน 8

ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด เป้า หมาย 2553 2554 2555 1.จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้รับบริการ 1 2.จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการของบุคลากร 2 3.จำนวนข้อร้องเรียนที่มีผลกระทบต่อชื่อเสียงของโรงพยาบาล 9

ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด เป้า หมาย 2553 2554 2555 4.ร้อยละของการจัดการข้อร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ 80% 100% 75% 5.ร้อยละของการจัดการข้อขัดแย้ง ข้อพิพาทที่มีประสิทธิภาพ 10

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้บริหารให้ความสำคัญและสนับสนุน ทีมงานมีความเข้มแข็งและมุ่งมั่นในการทำงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือ มีการสรุปผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 11

บทเรียนที่ได้รับ เมื่อเกิดข้อขัดแย้ง/พิพาทบุคลากรบางส่วนเกิดความเข้าใจผิด คิดว่าเหมือนถูกจับผิด หรือปกป้องผู้รับบริการ ดังนั้นหัวหน้าหน่วยงานควรทำความเข้าใจกับบุคลากรและมีการสื่อสารข้อมูลในหน่วยงานให้มากขึ้น บุคลากรบางส่วนยังมีความเข้าใจมาตรา 41 ที่ไม่ถูกต้องในประเด็นที่เป็นการช่วยเหลือเบื้องต้นเพื่อเยียวยาผู้ที่ได้รับความเสียหายทางการแพทย์ทั้งผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ ลดการฟ้องร้องบุคลากร 12

บทเรียนที่ได้รับ การป้องกันการเกิดข้อขัดแย้ง/พิพาทในการบริการเป็นสิ่งสำคัญที่บุคลากรทุกคนควรตระหนัก 13

การรู้จักใส่ใจไม่ตำหนิ เป็นวิธีสำคัญนั้นหนักหนา ช่วยกันเถิดพี่น้องผองเพื่อนยา ช่วยนำพาองค์กรปลอดร้องเรียน สวัสดี