ไม้เชื้อเพลิง ไม้ฟืน ถ่าน ขี้เลื่อย-ขี้กบ ไม้ไผ่ ขี้เลื่อย/ถ่านอัดแท่ง และแก๊สมวลชีวภาพ ไม้ฟืนที่ดี มีน้ำหนักหรือความแน่นสูง ค่าความร้อนสูง กลิ่นและควันน้อย ปราศจากยางหรือสารแทรกที่เป็นพิษ ขี้เถ้าน้อย จุดติดไฟง่ายและมอดช้า ผึ่งแห้งได้ค่อนข้างเร็ว เสื่อมสภาพช้า (จากการผุหรือแมลงกัดกิน) ถ่านที่ดี มีน้ำหนักสูง ค่าความร้อนสูง ก้อนถ่านแข็งแรงไม่ปริยุ่ยหรือเป็นผงง่าย หลังจากติดแล้วคุอยู่ได้นาน ไม่แตกปะทุระหว่างติดไฟ ความชื้นต่ำ และมีสิ่งเจือปนอื่นน้อย น้ำส้มควันไม้
เผาถ่านไม้ยางพารา สุราษฎร์ธานี
เตาอิฐก่อ นราธิวาส เตาดินเหนียว สหกรณ์เผาถ่าน กาฬสินธุ์ เตาหลุมผี ปราจีนบุรี เตาอิฐก่อมาตรฐาน กรมป่าไม้ สระบุรี
รูปแบบการใช้ประโยชน์ไม้ ไม้ท่อน กิ่ง/ก้าน ตอ/ราก โรงเลื่อย โรงปอก/ฝาน ไม้แปรรูป โรงอบไม้ โรงอาบ/อัดน้ำยาไม้ เครื่องเรือนไม้ ไม้ก่อสร้าง เครื่องมือ(ผลิตภัณฑ์ไม้อื่นๆ) ปีกไม้/เศษไม้ ไม้พื้น/ปาร์เก้ โรงสับไม้ ชิ้นไม้สับ ไม้แกะสลัก ไม้บาง แผ่นไม้อัด ไส้/เศษไม้บาง แผ่นชิ้นไม้อัด แผ่นชิ้นไม้อัดซีเมนต์ โรงเยื่อ เยื่อกระดาษและกระดาษ แผ่นใยไม้อัด ผลิตภัณฑ์เคมีจากไม้ แผ่นฝอยไม้อัดซีเมนต์ ไม้เสาเข็ม/ค้ำยัน
การตลาดไม้ขนาดเล็ก การผลิตเครื่องเรือน การตลาดไม้ยูคาลิปตัส ถ่านจากเศษไม้ปลายไม้ ราคาไม้เสาเข็ม ราคาไม้สักตัดสางขยายระยะ
ไม้ยูคาลิปตัส กาญจนบุรี
เผาถ่านเศษไม้ยูคาลิปตัส กาญจนบุรี
ไม้เทพธาโร ตรัง
ฝุ่นไม้ปั้น แพร่
หัตถกรรมตอรากไม้ กาญจนบุรี
หัตถกรรมตอรากไม้ กาญจนบุรี
หัตถกรรมตอรากไม้ กาญจนบุรี
บทสรุป “เวลาที่ดีที่สุดที่จะปลูกต้นไม้ก็คือ 25 ปีที่แล้ว... สวนสัก ราชบุรี “เวลาที่ดีที่สุดที่จะปลูกต้นไม้ก็คือ 25 ปีที่แล้ว... เวลาที่ดีที่สุดรองลงมาคือวันนี้” คัดลอกมาจากสถานที่รับเลี้ยงเด็กแห่งหนึ่งในประเทศแคนาดา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” พระราชดำริในพระบาทสมเด็จฯ พระเจ้าอยู่หัว
Mishino Aki -สถานีแวะพักริมทาง ข้างถนนในชนบท เริ่มเมื่อปี 2531 -อาหาร ป่าสนบ้านวัดจันทร์ เชียงใหม่ Mishino Aki -สถานีแวะพักริมทาง ข้างถนนในชนบท เริ่มเมื่อปี 2531 -อาหาร -ห้องน้ำ -ข้อมูลถนนหนทาง และเรื่องราวท้องถิ่น -สินค้าของชาวบ้าน (ช่องทางระบายสินค้า เพิ่มมูลค่า ดึงคนให้อยู่ในชนบท/ภาคเกษตร) -สร้างโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร (ซอสมะเขื่อเทศ แฮม สินค้าสด/แห้ง)
(KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN ป่าสนบ้านวัดจันทร์ เชียงใหม่ ประชากร 10,000 คน รัฐ งบประมาณ 40 % สนับสนุน พื้นที่ป่า 75 % - ป่าของรัฐ 3 % - ป่าเอกชน 97 % 50-80 ปี 400 ต้น/ไร่ 160 ต้น/ไร่ OGUNI (KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN OGUNI FOREST ASSOCIATION -โรงเลื่อยไม้ -โรงประดิษฐกรรมไม้ -บริษัทก่อสร้าง -สมาชิก 680 คน (70 % ผู้ปลูกป่า) -สิทธิ 1 คน 1 เสียง โรงเลื่อย 40 โรง (70,000 ลบ.ม./ปี) ตลาดค้าไม้ -ไม้ท่อนยาว 4 ม. 5 แห่ง -10,000-100,000 บาท/ลบ.ม. โครงสร้างไม้ประกับ (Glue Laminated Wood) The Forest Center Yu Station Milk Products Processing Center Oguni Dome Mokkonkan House Oguni School
สวนสน บ่อแก้ว เชียงใหม่ สวนยูคาลิปตัส บ่อแก้ว เชียงใหม่ สวนสัก ราชบุรี สวนไผ่ ปางดะ เชียงใหม่
โรงเลื่อย (ไม้ยางพารา) 1. โรงเรือน (หลังคาสังกะสี) 10x20 (1,200 บาท/ตร.ม.) 240,000 บาท 2. โต๊ะเลื่อย (สายพาน) 3 ตัว 200,000 บาท 3. ค่าติดตั้ง 20,000 บาท 4. ระบบไฟฟ้า 20,000 บาท 480,000 บาท 5. ค่าซ่อมบำรุง ? 6. ค่าแรงเหมา (7 คน 9 บาท/ลบ.ม.) เลื่อยวันละ 200 ลบ.ม. 1,800 บาท ผลพลอยได้ -ขี้เลื่อย 300 บาท/ตัน 300 บาท -ปีกไม้/เศษไม้ 7-10 ลบ.ม./วัน 250 บาท 7. โรงอบไม้ 8. เครื่องอัดน้ำยาไม้