กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality – ACCSQ) หทัย อู่ไทย รองเลขาธิการสำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หทัย อู่ไทย รองเลขาธิการสำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ภูมิหลังอาเซียน 2510 : สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations-ASEAN) 2535 : เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area-AFTA) 2546 : ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community-AC) ภายในปี : เร่งรัดการจัดตั้ง AEC ให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี เป็นปี พ. ศ. 2558
คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality – ACCSQ) การก่อตั้ง : ปี พ. ศ วัตถุประสงค์ : 1. ส่งเสริมการเปิดเสรีทางการค้าในอาเซียน 2. อำนวยความสะดวกในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ ของอาเซียน 3. สนับสนุนข้อมูล / ข้อเสนอแนะด้านมาตรฐานและ การตรวจสอบและรับรอง 4. เป็นเวทีหารือ
ACCSQ - STRUCTURE
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง ● รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ ● นโยบายของรัฐบาลปี พ. ศ.2551
การจัดทำกรอบเจรจาในภาพรวม ● วัตถุประสงค์ ● เป้าหมาย
เนื้อหาของกรอบการเจรจาฯ 1. ให้เป็นไปตามกรอบความตกลงยอมรับร่วมของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Mutual Recognition Arrangements) ซึ่งประเทศสมาชิกรวมทั้งประเทศไทยได้ร่วมลงนามในกรอบความตกลงดังกล่าว เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2541 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม 2. ให้การบังคับใช้กฎหมายหรือกฎระเบียบทางเทคนิคมีความสอดคล้องกับระดับการพัฒนา ขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทย 3. ให้มีระยะเวลาในการปรับตัวที่เหมาะสมสำหรับแต่ละสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาที่มีความอ่อนไหวของไทย 4. ให้มีความร่วมมือในการปรับปรุงกฎระเบียบทางเทคนิคให้มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของประเทศ
ขอรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มองค์การภูมิภาค สำนักบริหาร มาตรฐานระหว่างประเทศ สำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โทรฯ / โทรสาร