การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ ความสำคัญ เป็นสื่อที่เข้าถึงประชาชนได้มาก (อาจจะมากที่สุด) เป็นสื่อที่มีปัญหาเกี่ยวกับการโฆษณามากที่สุด ขาดหน่วยงานรัฐที่ควบคุม (วิทยุชุมชน) การแก้ปัญหา(น่าจะ)ง่ายกว่าสื่ออื่นๆ เพราะต้นเหตุอยู่ในพื้นที่
แนวทางการตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ สำรวจคลื่นวิทยุทั้งหมดที่สามารถรับได้ในเขตพื้นที่ บันทึกเสียงการออกอากาศของแต่ละคลื่น ตรวจสอบการโฆษณาแต่ละคลื่น ประมาณ 2 – 3 ครั้ง แบ่งกลุ่มคลื่นวิทยุ 4.1 คลื่นวิทยุที่มีปัญหาการโฆษณาบ่อย 4.2 คลื่นวิทยุที่มีปัญหาการโฆษณาเป็นบางครั้ง 4.3 คลื่นวิทยุที่ไม่เคยพบปัญหาการโฆษณา 5. สุ่มตรวจ ให้ความสำคัญกับคลื่นที่พบปัญหาบ่อย
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ การบันทึกเสียง - วิทยุเทปพร้อมม้วนเทป - เครื่องบันทึกเสียง(มีระบบเก็บข้อมูลไฟล์เสียง) - คอมพิวเตอร์ เก็บไฟล์เสียง โปรแกรมบันทึกเสียง 2. การถอดเทป/ไฟล์เสียง - ลำโพง หรือ หูฟัง - แบบบันทึกการถอดเทป
การบันทึกโดยใช้วิทยุเทปและม้วนเทป ปัจจุบันไม่นิยม เนื่องจาก 1. อุปกรณ์หาซื้อยาก (ม้วนเทป) 2. การฟังซ้ำยากกว่าไฟล์เสียง 3. การจัดเก็บม้วนเทปยุ่งยากกว่า เปลืองพื้นที่ 4. เทปมีโอกาสเสียหายได้ง่าย 5. การส่งต่อข้อมูลยุ่งยากกว่าไฟล์เสียง
การบันทึกโดยใช้เครื่องบันทึกเสียง (มีระบบเก็บข้อมูลไฟล์เสียง) การบันทึกโดยใช้เครื่องบันทึกเสียง (มีระบบเก็บข้อมูลไฟล์เสียง) จัดเก็บง่าย ค้นหาง่าย ในคอมพิวเตอร์ การฟังซ้ำ ทำได้ง่ายกว่า ทำให้ถอดเทปง่ายกว่า พื้นที่ในการจัดเก็บน้อยกว่าม้วนเทป ต้นทุน/ ราคา ถูกกว่า เสื่อมสภาพ(น่าจะ)ยากกว่า การคัดลอก ส่งต่อง่ายกว่า (ไฟล์ Email)
สิ่งที่ควรบันทึกในการถอดเทป ความถี่คลื่น 2. ชื่อสถานีวิทยุ ชื่อรายการที่จัด ชื่อดีเจ หรือ ผู้จัดรายการ วันที่ ช่วงเวลาที่จัด ที่ตั้งของสถานีวิทยุหรือเบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ ข้อความโฆษณาที่ผิด
Trick การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ บันทึกเสียงให้คร่อมช่วงเวลารายการที่พบปัญหา เช่น รายการช่วง 10.00 – 11.00 น. ควรบันทึก 09.50 – 11.10 น. ควรบันทึกเป็นไฟล์เสียง เพราะจัดเก็บง่ายกว่า เสียยากกว่า ตรวจสอบได้เร็วกว่า ฯลฯ การจัดเก็บไฟล์เสียง ควรจัดเป็นหมวดหมู่ และตั้งชื่อไฟล์อย่างเป็นระบบเพื่อให้ไฟล์จัดเรียงกันและค้นหาง่าย เช่น FM550920-99.75MHz
ปัญหาที่พบการตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ เข้าใจว่าไม่มีสถานีวิทยุตั้งอยู่ในเขตรับผิดชอบ จึงไม่ดำเนินการใดๆ การตรวจสอบใช้การฟังสดๆ ไม่บันทึกเสียงไว้เป็นหลักฐาน การบันทึกการถอดเทป ขาดข้อมูลที่จำเป็น เช่น วัน เวลา คลื่นความถี่ ขาดอุปกรณ์บันทึกเสียง
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ ความคาดหวัง ในปีงบ 56 หน่วยงานมีฐานข้อมูล คลื่นที่สามารถรับสัญญาณได้ในพื้นที่ หน่วยงานมีฐานข้อมูล สถานีวิทยุ ในพื้นที่ หน่วยงานมีการตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ พร้อมทั้งเก็บหลักฐาน และบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังได้ถูกต้อง หน่วยงานทราบปัญหาการโฆษณาฯในพื้นที่ และทำให้ปชช.รู้เท่าทันได้ จนท.ระดับอำเภอ สามารถชี้ประเด็นความผิดตามข้อกฎหมายได้ถูกต้อง
สวัสดี