Routine-to-Research (R2R)
What is “Routine to Research”? R2R ย่อมาจาก Routine to Research แปลว่าพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Q: มีคำถามว่างานวิจัยแบบไหนที่ถือว่า เป็น R2R A: ไม่มีคำตอบตายตัวนะครับ แต่ละ หน่วยงานต้องนิยามเอาเองให้ เหมาะสมต่อสถานการณ์ และความ ต้องการของตน ผมจะลองให้คำตอบของผม (ซึ่งไม่ รับรองว่าถูกต้อง แต่รับรองได้ว่าไม่ ครบถ้วน) Prof. Vicharn Panich
What is “Routine to Research”? เป็น R2R หรือไม่ ให้ดูที่โจทย์ วิจัย ผู้ทำวิจัย ผลลัพธ์ของการวิจัย และการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ โจทย์วิจัย โจทย์วิจัยของงาน R2R ต้องมาจากงานประจำ เป็นการ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานประจำ ผู้ทำวิจัย ต้องเป็นผู้ทำงานประจำ นั้นเอง เป็นผู้แสดงบทบาทหลักของ การวิจัย Prof. Vicharn Panich
What is “Routine to Research”? ผลลัพธ์ของการวิจัยต้องวัดที่ผลต่อตัว ผู้ป่วย หรือบริการที่มีผลต่อผู้ป่วย โดยตรง ไม่ใช่วัดที่ตัวชี้วัดทุติยภูมิ เท่านั้น เช่น ระดับสารต่าง ๆ ใน ร่างกาย หรือผลการตรวจพิเศษต่าง ๆ การนำผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ ผลการวิจัยต้องวนกลับไปมี ผลเปลี่ยนแปลงการให้บริการผู้ป่วย โดยตรงหรือต่อการจัดบริการผู้ป่วย จึง จะถือว่าเป็น R2R Prof. Vicharn Panich
นพ.สุนทร วงษ์ศิริ PSU Carpal Tunnel Retractor
ตัวอย่างการเริ่มต้นงานวิจัยง่ายๆ ผลของการลดขั้นตอนการทำแผลต่อการบรรเทาความเจ็บปวดระหว่างการทำแผลในผู้ป่วยแผลไหม้ (project R 2 R, routine to research ของ burn unit รพ ราชบุรี)
ขั้นเริ่มต้นการวิจัย 1.สังเกตจากปัญหาการปฏิบัติงานว่าช่วงระยะเวลาที่ผู้ป่วย burns มีระดับความเจ็บปวดมากที่สุด คือช่วงของการทำแผล
ขั้นเริ่มต้นการวิจัย 2. เพื่อยืนยันว่าสิ่งที่สังเกต เป็นความจริง พยาบาลเริ่มสังเกต และบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วย VAS บันทึกระดับความเจ็บปวดในระยะพัก ระยะก่อนทำแผล ระหว่างการทำแผล หลังทำแผลเสร็จทันที และหลังทำแผลเสร็จประมาณ 30 นาทีเป็นเวลา 3 วัน(practice trigger หรือ problem focused) โดยเก็บจากผู้ป่วยจำนวน 10 คน
ขั้นเริ่มต้นการวิจัย ผลลัพธ์จากขั้นตอนที่ 2 ได้งานวิจัยแบบสำรวจ 1 เรื่อง ที่บอกถึงรูปแบบและระดับ ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในผู้ป่วย burns ช่วงท้ายของขั้นตอนนี้ผู้วิจัยได้ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อ confirm สิ่งที่ค้นพบและใช้อภิปรายผลการศึกษา เรียกว่าเป็น knowledge triggers
ขั้นกลางของการวิจัย 3. ระบุความจำเป็นของการหาวิธีการปฏิบัติเพื่อช่วยลดความเจ็บปวดระหว่างการทำแผลด้วยวิธีการลดขั้นตอนการทำแผลจาก 7 ขั้นตอน เป็น 6 ขั้นตอน เพื่อลดระยะเวลาของการทำแผล ใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 คน ได้รับการทดลองทั้ง 2 อย่างสลับกันไปเป็นเวลา 2 วัน
ขั้นกลางของการวิจัย ผู้ป่วย วันที่ เวลา วิธีทำแผล 1 1 เช้า 7 ขั้นตอน ผู้ป่วย วันที่ เวลา วิธีทำแผล 1 1 เช้า 7 ขั้นตอน บ่าย 6 ขั้นตอน 2 เช้า 6 ขั้นตอน บ่าย 7 ขั้นตอน 2 1 เช้า 6 ขั้นตอน 2 เช้า 7 ขั้นตอน
เก็บข้อมูลระดับความเจ็บปวด ก่อน ระหว่าง และหลังการทำแผล ก่อน ระหว่าง และหลังการทำแผล แล้วเปรียบเทียบระดับของความเจ็บปวดแต่ละระยะระหว่างการทำแผลด้วยวิธีการ 2 อย่าง (6 ขั้นตอน VS 7 ขั้นตอน)
ผลลัพธ์ของขั้นตอนนี้ ได้งานวิจัยเชิงการทดลอง 1 เรื่อง ที่ทำแล้วแก้ปัญหาให้กับผู้ป่วยได้โดยตรง และนำสู่การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติได้ทันที เหมือนงาน พัฒนาคุณภาพการพยาบาล (QI)
จงวิเคราะห์ตนเองท่านอยู่ในกลุ่มใด ? กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลเอาไว้บ้างแล้วแต่ยังไม่รู้ว่าจะทำอะไรต่อไปอย่างไร กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ กลุ่ม 3 สนใจที่จะทำงานวิจัยมาก แต่ยังไม่มีโครงการแน่นอน กลุ่ม 4 สนใจที่จะทำวิจัยพอควร แต่ไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้หรือไม่ กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ
ทั้ง 5 กลุ่มนี้ สามารถทำงานวิจัยได้สำเร็จทั้งสิ้น โดยการเริ่มต้นที่ไม่เหมือนกัน และอาจใช้เวลาต่างกัน
กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลมาบ้างแล้ว ลองเอาข้อมูลเดิมมาพิจารณา แล้วดูว่าเราจะใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง การวิจัยเป็นแบบ survey เพื่อดูอุบัติการณ์ของปัญหาบางอย่าง กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ เริ่มต้นปรับโครงการเดิม โดยเขียนให้ชัดเจนขึ้น มีการทบทวนเอกสารมากขึ้น และส่งขอทุนวิจัย
กลุ่ม 3 สนใจมาก แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ดูปัญหาใกล้ตัว วิเคราะห์ปัญหาให้ชัด เริ่มพัฒนาโครงการตามขั้นตอน กลุ่ม 4 สนใจพอควร แต่ยังไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้หรือไม่ อ่านเอกสารที่เกี่ยวข้องมากๆ เพื่อกระตุ้นให้คิดได้ ศึกษาบทเรียนของผู้อื่น ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้เกิดการต่อยอดความคิดของตนเอง
อย่ายุ่ง....... อย่ากวน.......อย่าชวน....... ไม่สน กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ อย่ายุ่ง....... อย่ากวน.......อย่าชวน....... ไม่สน
กลุ่ม 5 1.ลองคิดใหม่อีกครั้ง 2.ลองหาทางทำงานวิชาการประเภทอื่นๆที่เทียบเคียง -งานทบทวนงานวิจัย -โครงการใช้ผลการวิจัย (research utilization)
เมื่อตัดสินใจเริ่มต้น ก้าวแรกมักเป็นก้าวที่ต้องการ ผู้ช่วยเหลือ
ส่วนก้าวต่อๆไป เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หู
การทำ วิจัย เป็นทีม เป็นอีก กลวิธีหนึ่ง ที่จะทำให้เกิด ความสำเร็จ
คำถาม 108 ที่อาจเป็นอุปสรรค นักวิชาการมักตั้งคำถามเหล่านี้ 1.การคำนวณขนาดตัวอย่าง ??? 2.ความน่าเชื่อถือของ intervention?? ?????????????
ของพยาบาลนักปฏิบัติการ ที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ คำถามเหล่านี้ อาจบั่นทอนกำลังใจ ของพยาบาลนักปฏิบัติการ ที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ ทำให้เบื่อหน่าย และไม่อยากทำวิจัย แง........แกล้งหนู ไม่ทำก็ได้ โน่นก็ผิด นี่ก็ผิด
-พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงานที่ทำอยู่ประจำวันเป็นงานวิจัย ทางออกที่ดี -พบกันคนละครึ่งทาง -พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงานที่ทำอยู่ประจำวันเป็นงานวิจัย -งานพัฒนาคุณภาพที่ทำอยู่ เก็บข้อมูลดีๆ รายงานผลให้เป็น และใช้สถิติเปรียบเทียบให้ถูกต้อง ก็สามารถ report ได้ในลักษณะของงานวิจัย
สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 1.เข้าใจธรรมชาติงานวิจัยทางคลินิกของพยาบาลนักปฏิบัติ 2.นักปฏิบัติอยู่กับการปฏิบัติ ต้องเอื้อให้สามารถใช้การปฏิบัติ และการแก้ปัญหาการปฏิบัติประจำวันพัฒนาไปเป็นการวิจัย อรพรรณ โตสิงห์
สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 3.ต้องเข้าใจว่านักปฏิบัติที่ยังไม่เคยทำวิจัยเอง อาจไม่คล่องตัว เรื่องการใช้สถิติในกระบวนการวิจัย ดังนั้น “ต้องหาที่ปรึกษาทางด้านนี้” อรพรรณ โตสิงห์
สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 4.ต้องเปิดไฟเขียวให้ทุกๆเรื่อง ไม่จู้จี้เกินไป และต้องยอมรับความไม่สมบูรณ์บางอย่างได้ 5.ตระหนักเสมอว่า ถ้าไม่มีการเริ่มต้นงานที่ 1 จะไม่มีงานที่ 2,3,4…… อรพรรณ โตสิงห์
งานวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินการทุกอย่าง เป็นไปตามขั้นตอน แต่ละขั้นตอนมีกิจกรรมที่แตกต่างกัน อรพรรณ โตสิงห์
ลงมือทำ คิด วิเคราะห์ เขียน การคิด เขียน โครงร่าง 1.ระบุหัวข้อหรือปัญหาการวิจัยและทบทวนวรรณกรรม 2.กำหนดตัวแปรของการวิจัย และวิธีวัดตัวแปร 3.กำหนดระเบียบวิธีวิจัย 4.กำหนดประชากรและ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 5.ดำเนินการเก็บข้อมูล 6.วิเคราะห์ข้อมูล 7.เขียนรายงานการวิจัย 8.เผยแพร่งานวิจัย การคิด เขียน โครงร่าง ลงมือทำ คิด วิเคราะห์ เขียน
“คิดโจทย์ในการวิจัย” การเริ่มต้นทำวิจัย “คิดโจทย์ในการวิจัย” อรพรรณ โตสิงห์
เริ่มต้นคิดหัวข้อวิจัย กันอย่างไร ?
คิดเอง คิด คิด คิด วิจัย วิจัย วิจัย R 2 R, P 2 R…….
บอกต่อ ทำเรื่องนี้ซิเธอ.......… ………….in trend ว่าไงนะเธอ ฉันไม่ได้ยิน
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในคลินิก
โจทย์วิจัยได้จาก 1.ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน เอากิเลสของตนเป็นที่ตั้งโจทย์ -สำรวจว่างานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน มีอะไรที่เป็นปัญหา -ถ้าไม่มีปัญหาแล้ว การปฏิบัติแบบเดิมๆ ที่ทำ ปรับให้ดีขึ้นได้หรือไม่ -ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว ทำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่
คนที่จะริเริ่มทำวิจัย ต้องไม่เป็น พวก “ทองไม่รู้ร้อน”
โจทย์วิจัยได้จาก 2.ความพอใจหรือเป้าหมายขององค์กร ซึ่งรวมถึงผู้ป่วยและครอบครัว เอากิเลสของคนอื่นมาเป็นที่ตั้ง -วิจัยที่ดี ต้องมีคนต้องการ -วิจัยที่ดี ต้องแก้ปัญหาให้คนที่เกี่ยวข้องได้ -การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จะทำให้ได้รับ support ที่ดี (เงิน เวลา นโยบายในการเปลี่ยนแปลง)
โจทย์วิจัยได้จาก 3.การอ่านวารสาร งานวิจัยที่ตีพิมพ์ -ศึกษางานของคนอื่นๆบ้าง เพราะปัจจุบัน เราไม่ได้เริ่มต้นจาก ศูนย์แล้ว ใครทำอะไร ? ทำไปถึงไหน ? ช่องว่างอยู่ตรงไหน ?
ดังนั้นก่อนจะสรุปโจทย์วิจัย การทบทวนวรรณกรรมจึงเป็นเรื่องสำคัญ
หลักในการทบทวนวรรณกรรม เพื่อหาหัวข้อวิจัย 1.ใครทำ ? 2.ทำอะไร ? 3.ได้อะไร ? 4.ควรทำอะไรต่อ?
โจทย์วิจัยได้จาก 4.การพบปะพูดคุย หรือการสื่อสารกับ บุคคลอื่นๆ ทั้งเป็นการส่วนตัว หรือ ในการประชุมวิชาการต่างๆ
โจทย์วิจัยได้จาก 5. Replication of studies การทำวิจัยซ้ำ เช่นทำซ้ำใน settings อื่นๆ 6. จากทฤษฎี เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ต่างๆ
Research Question Answerable question Patient Intervention Comparison Outcome