การประเมินค่าการชะล้างพังทลายของดิน โดยใช้เทคนิคไอโซโทป 137Cs

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ดิน(Soil).
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
ภาวะ CV & CC กับการผลิตอาหารและการส่งเสริมการเกษตร: อะไรที่เสี่ยงและการปรับตัวเพื่อการผลิตที่อยู่ได้ รศ. ดร. อรรถชัย จินตะเวช ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
แผ่นดินไหว.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
โครงการวิจัย การเปรียบเทียบสมรรถนะคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Comparative Benchmarking of Faculty of Associated Medical.
นายมณฑล สุริยาประสิทธิ์
การปนเปื้อนของธาตุโลหะหนักในดิน ของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร
 โครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2552 ติดตามดูงานของโครงการใน พื้นที่สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การประหยัดน้ำในอุตสาหกรรมยาง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
นำปุ๋ยคอกบรรจุในกระสอบปุ๋ยจนเต็มกระสอบ
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
8. 3 ที่มาของปัญหาด้านคุณภาพน้ำ 1.) ประชากรเพิ่ม …. โดยเฉพาะในเขต ชุมชนหนาแน่น 2.) การใช้เทคโนโลยีไม่ถูกวิธี / ใช้มาก / ใช้ ไม่เหมาะสม … เกิดฝนกรดจากการเผา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ดินถล่ม.
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
ก. ต้องการทำลายล้างฝ่ายตรงข้าม ข. ต้องการพิสูจน์ทฤษฎีของไอน์สไตน์
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ดวงจันทร์ (Moon).
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
11.7 วิธีการศึกษา Soil Erosion
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
แนวโน้มของเทคโนโลยีที่ น่าจะมีใช้ในอนาคต
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
กระบวนการและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินค่าการชะล้างพังทลายของดิน โดยใช้เทคนิคไอโซโทป 137Cs และคุณภาพของดิน บนพื้นที่สูงใน จ.เชียงใหม่ และพื้นที่ดอน จ.ขอนแก่น Assessment of Soil Erosion by using 137Cs Isotope Technique and Soil Quality on High Land in Chiangmai Province And on Upland in Khon Khen Province ดรุณี ชัยโรจน์ จิราวุฒิ เวียงวงษ์งาม ลลิดา ชัยเนตร และ สันติ รัตนอานุภาพ สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน

Radionuclides as Tracers Caesium – 137 ไม่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ ได้มาจากการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ ปล่อย 137Cs สู่บรรยากาศ ชั้นStratosphere ซึ่งจะผสมรวมตัวกับบรรยากาศและไหลเวียนไปทั่วโลก ฝนจะชะพาสู่พื้นดิน Lead-210 เป็นสารกัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ มาจากการสลายตัวของ 238U ซึ่งสลายตัวมาจากก๊าซ 222Rn โดย 222Rn ที่อยู่ในดินจะแพร่กระจายเข้าสู่บรรยากาศ และสลายตัวเป็น 210Pb และตามมาด้วยการตกสู่พื้นโลก Beryllium-7 เป็นสารกัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติเช่นกัน เกิดจากการระเบิดของชั้นบรรยากาศโลก โดยรังสีคอสมิกจะปล่อย O & N atom ในชั้นtroposphere และ stratosphere จากการวัดปริมาณของ 7Be, 137Cs, และ 210Pb ที่ติดมากับดิน จะให้ข้อมูล เป็นระยะสั้น (<30 วัน) ระยะปานกลาง (-40 ปี) และ ระยะยาว (- 100 ปี) ตามลำดับ

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินค่าการชะล้างพังทลายและทับถมของดิน และลักษณะการแพร่ กระจายของดินบนพื้นที่สูงและพื้นที่ดอน ที่มีการใช้ที่ดินแบบต่างๆ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการแพร่กระจายของดินกับคุณภาพดิน ภายใต้การใช้ที่ดินแบบต่างๆ

หลักการ  ติดตามการแพร่กระจายของ 137Cs ในแต่ละจุดที่เก็บตัวอย่างดิน กับ ปริมาณ 137Cs ในพื้นที่อ้างอิง

เริ่มต้นเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2549 สิ้นสุดเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มต้นเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2549 สิ้นสุดเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 สถานที่ดำเนินการ 1. พื้นที่สูง ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย บ้านหนองหอย ต.แม่แรม อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 2. พื้นที่ดอน ณ บ้านโนนตุ่น ต.หนองแวง อ.พระยืน จ.ขอนแก่น

แบบจำลอง Diffusion and migration model และ Mass Balance Model ll อุปกรณ์ แบบจำลอง Diffusion and migration model และ Mass Balance Model ll

วิธีการ

ผลการวิจัยและวิจารณ์ Ref. Inventory = 83 Bq/m2 Ref. Inventory = 77 Bq/m2 Ref. Inventory = 339 Bq/m2

ผลการวิจัย และวิจารณ์ พื้นที่ป่า พื้นที่ปลูกผัก EL ~ 1,222-1,323 M Slope ~ 15-240 Tex ~ cl,scl,l Db ~ 0.8-0.9 g/cm3 Por ~ 66-72% pH ~ 4.2-4.5 OM ~ 3-8 % P - mod. K - vH Ca&Mg - vl Soil Ero ~ 7.9 t/ha/y-low พื้นที่ปลูกผัก EL ~ 1,222-1,323 M Slope ~ 18-33 % Tex ~ scl, l, cl Db ~ 0.9-1.0 g/cm3 Por ~ 59-64 % pH ~ 4.7-6.0 OM ~ 1.6-8.3% P&K ~ vH Ca&Mg ~ l-mod. Soil Ero ~ 70 t/ha/y severe

Ruzi Exp. Area Ref. Area Para-rubber Area EL ~ 174-176m Soil Ero ~ 27t/ha/y, mod 5 Sl ~ 2-30 Tex ~ s Db ~ 1.4-1.5 g/cm3 Por ~ 42-48% pH ~ 4.5-5.5 OM ~ 0.3-0.8% P ~ l K ~ l-vH Ca&Mg ~ l Ref. Area Para-rubber Area EL 186m, Tex ~ ls 137Cs ~ 338.75Bq/m2 OM ~ 1.9% P&K ~ mod-H EL ~ 162-183 m Soil Ero ~ 5-100 t/ha/y Soil Dep ~ 5-23 t/ha/y

 พื้นที่ป่า ปริมาณ Cs-Inventory มีความสัมพันธ์ในเชิงเส้นตรง กับ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการแพร่กระจายของดินกับ คุณภาพของดินภายใต้การใช้ที่ดินแบบต่างๆ  พื้นที่ป่า ปริมาณ Cs-Inventory มีความสัมพันธ์ในเชิงเส้นตรง กับ ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน % OC = - 0.2757 + 0.596 (Cs-Inventory), r = 0.9, n=5 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการแพร่กระจายของดินกับคุณภาพดิน ภายใต้การใช้ที่ดินแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการแพร่กระจายของดินกับคุณภาพดิน ภายใต้การใช้ที่ดินแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการแพร่กระจายของดินกับคุณภาพดิน ภายใต้การใช้ที่ดินแบบต่างๆ

%OC=-0.2757+0.596(Cs-Inventory,Bq/m2), r = 0.9* สรุป พื้นที่สูง จ.เชียงใหม่ พื้นที่ป่า มีความลาดชัน 15-24 องศา มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว มีอัตราการชะล้างพังทลายของดินเฉลี่ย ประมาณ 7.9 ตัน/เฮกแตร์/ ปี หรือ 1.26 ตัน/ไร่/ปี (ระดับต่ำ) และได้ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ 137Cs ที่สะสมในชั้นหน้าตัดดิน (Cs-Inventory) กับปริมาณอินทรีย์คาร์บอน ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ ดังนี้ %OC=-0.2757+0.596(Cs-Inventory,Bq/m2), r = 0.9* พื้นที่ปลูกผัก มีความลาดชันประมาณ 18-33 องศา มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว มีอัตราการชะล้างพังทลายของดินเฉลี่ยประมาณ 70.0 ตัน/เฮกแตร์/ปี หรือ 11.2 ตัน/ไร่/ปี (ระดับรุนแรง)

สรุป พื้นที่ดอน จ.ขอนแก่น พื้นที่ปลูกหญ้ารูซี มีความลาดเทประมาณ 2-3 องศา มีเนื้อดินเป็นดินทราย มีอัตราการชะล้างพังทลายของดิน ประมาณ 27 ตัน/เฮก แตร์/ปี หรือ 4.32 ตัน/ไร่/ปี (ระดับปานกลาง) พื้นที่ปลูกยางพารา มีอัตราการชะล้างพังทลายของดิน ประมาณ 5-100 ตัน/เฮก แตร์/ปี หรือสูงกว่านี้ และอัตราการทับถมดิน ประมาณ 5-23 ตัน/เฮกแตร์/ปี Gully erosion

คำขอบคุณ สนับสนุนด้านวิชาการ  ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) สนับสนุนด้านวิชาการ  กรมพัฒนาที่ดิน และสถาบันวิจัยแห่งประเทศฝรั่งเศส (IRD) สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน  ขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนช่วยให้งานนี้สำเร็จ

ขอบคุณค่ะ