ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
น้ำหนักแสงเงา.
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
แผ่นดินไหว.
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Ultrasonic sensor.
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
กาแล็กซีและเอกภพ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ข้อแนะนำ วันหนึ่ง ฉันขอคำแนะนำจากพระ เจ้า ว่าจะดำเนินชีวิตในโลกนี้อย่างไร.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สวัสดี...ครับ.
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดวงจันทร์ (Moon).
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
การนอนหลับและการ ฝัน จิตต้องการพักผ่อน ปิดประตูประสาทสัมผัส ไม่มี ความรู้สึกนึกคิดใด ๆ เรียกว่า “ ภวังคจิต ”
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12 เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12 เสนอ อาจารย์ ศรีทัศน์ วัยวัฒนะ

บทที่ ๑ แสง แสงส่วนใหญ่ที่เราได้รับมาจากดวงอาทิตย์ เป็นแหล่ง กำเนิดแสงที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ส่วนแสงจาก ดวงจันทร์ที่เราเห็น ในเวลาค่ำคืน เป็นแสงจากดวง อาทิตย์ตก กระทบผิวดวงจันทร์ แล้วสะท้อนมายังโลก นอกจากแหล่งกำเนิดแสงในธรรมชาติแล้ว ยังมีแหล่งกำเนิดแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น หลอดไฟ ตะเกียง เทียนไข เป็นต้น แสงมี ประโยชน์และเป็นสิ่งจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต

เมื่อจุดเทียนไขในห้องมืด เราจะเห็นเปลวเทียนไข สว่าง เนื่องจากแสงจากเปลว เทียนไขมาเข้าตา ส่วนสิ่งของอื่นๆ ในห้องที่เราเห็นได้ เป็นเพราะ แสงจากเปลว เทียนไขไปตกกระทบสิ่งของนั้นๆ แล้วสะท้อนมาเข้าตา แสงที่เคลื่อนที่มาเข้าตาหรือ เคลื่อนทีไปบริเวณใดๆ ก็ตามจะเคลื่อนที่ในแนว เส้นตรง เช่น ถ้าให้แสงผ่านรู บนกระดาษแข็ง ๓ แผ่น ถ้าช่องของรูบนกระดาษแข็งไม่อยู่บนแนว เดียวกัน จะมองไม่เห็นเปลวเทียนและ หลังจาก ปรับแนวช่องทั้งสามให้อยู่ในแนวเดียวกันแล้ว สังเกตได้ว่าถ้าร้อยเชือก และดึงเชือกเป็นเส้นตรง เดียวกันได้ จะมองเห็นเปลวเทียนไข แสดงว่า "แสงเคลื่อนที่ เป็นเส้นตรง"

เราสามารถเขียนเส้นตรงแทน ลำแสงนี้ได้ และเรียกเส้นตรงนี้ว่า รังสีของแสง การเขียนเส้นตรง แทนรังสีของแสงนี้ ใช้เส้นตรงที่มี หัวลูกศรกำกับเส้นตรงนั้น โดย เส้นตรงแสดงลำแสงเล็กๆ และหัว ลูกศรแสดงทิศการเคลื่อนที่ กล่าวคือ หัวลูกศรชี้ไปทางใด แสดงว่าแสงเคลื่อนที่ไปทางนั้น

การมองเห็นวัตถุใดๆ ต้องมีแสง จากวัตถุมาเข้าตา ซึ่งแบ่งได้เป็น ๒ กรณีคือ ๑. เมื่อวัตถุนั้นมีแสงสว่างใน ตัวเอง จะมีแสงสว่างจากวัตถุเข้าตา โดยตรง ๒. วัตถุนั้นไม่มีแสงสว่างใน ตัวเอง ต้องมีแสงจากแหล่งกำเนิด แสงอื่นกระทบวัตถุนั้น แล้ว สะท้อนเข้าตา เมื่อแสง เคลื่อนที่ไปกระทบวัตถุต่างๆ วัตถุ บางชนิดแสงผ่านไปได้ แต่วัตถุ บางชนิดแสงผ่านไปไม่ได้

เราอาจแบ่งวัตถุตามปริมาณแสง และลักษณะที่แสงผ่านวัตถุได้ 3 ประเภท ดังนี้ ๑. วัตถุโปร่งใส หมายถึงวัตถุที่แสงผ่านได้หมดหรือเกือบหมดอย่างเป็น ระเบียบ เราจึงสามารถมองผ่านวัตถุโปร่งใส และมองเห็นวัตถุที่อยู่อีกข้าง หนึ่งได้อย่างชัดเจน วัตถุโปร่งใสมีหลายชนิด เช่น อากาศ กระจกใส แก้ว ใส่น้ำ และแผ่นพลาสติกใส เป็นต้น ๒. วัตถุโปร่งแสง หมายถึง วัตถุที่แสงผ่านได้อย่าง ไม่เป็นระเบียบ เมื่อเรามองผ่านวัตถุโปร่งแสง จึงเห็นวัตถุอีกด้านหนึ่งไม่ ชัดเจน เช่น กระดาษชุบน้ำมัน กระจกฝ้า กระดาษไขหรือกระดาษลอกลาย และหมอก เป็นต้น ๓. วัตถุทึบแสง หมายถึง วัตถุที่แสงผ่านไปไม่ได้ เช่นผ้า แผ่นไม้ แผ่นอะลูมิเนียม แผ่นสังกะสี กระดาษหนา เหล็ก แะล ทองแดง เป็นต้น

ภาพวัตถุชนิดต่างๆ ตัวอย่างการแบ่งประเภทวัตถุบังแสง (โดยใช้เกณฑ์การมองเห็นจากเปลวเทียนไข) จากตารางข้อมูลจึงสรุปได้ว่า ถ้าแบ่งวัตถุบังแสงโดยใช้ความชัดเจนของการมองเห็น เปลวเทียนไขเป็นเกณฑ์

การมองเห็นเปลวเทียนไขเป็นเกณฑ์ จะแบ่งได้ 3 ประเภท คือ (๑) วัตถุที่แสงจากเปลวเทียนไขสามารถผ่านมาเข้า ตาได้ดี ทำให้มองเห็นรูปร่างเปลวเทียนได้ชัดเจน (๒) วัตถุที่ให้แสงเพียงบางส่วนจากเปลวเทียนผ่าน มาเข้าตา ทำให้มองเห็นแสงจากเปลวเทียนได้ แต่ไม่ เห็นรูปร่างของเปลวเทียน (๓) วัตถุที่ไม่ให้แสงจากเปลวเทียนไขผ่านมาเข้าตา จึงมองไม่เห็นเปลวเทียนไข ดังนั้นเราจึงสามารถสรุปเกี่ยวกับวัตถุได้ว่า " วัตถุ ต่างชนิดกันยอมให้แสงผ่านได้ไม่เท่ากัน”