การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
Advertisements

เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
รายงานธุรกิจ.
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
The Development of Document Management System with RDF
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ซอฟต์แวร์.
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการขนส่งน้ำมันกรณีศึกษาบริษัทแสงชัยโชค.
Management Information Systems
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โครงการ นครพนม 1 ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การจัดการฐานข้อมูล.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โปรแกรมสำหรับการเลื่อนเงินเดือน
หลักการเขียนโครงการ.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ชุติมณฑ์ บุญมาก

การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ พจนานุกรมข้อมูล วิธีการและหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

พจนานุกรมข้อมูล หมายถึง แฟ้มที่เก็บบันทึกรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับ ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูล หน้าที่สำคัญของพจนานุกรมข้อมูล การควบคุมการใช้ฐานข้อมูลพร้อมกันจากผู้ใช้รายคน การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล

พจนานุกรมข้อมูล ประโยชน์ของพจนานุกรมข้อมูล ระดับระบบงาน ระดับองค์กร เป็นเอกสารเพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล สนับสนุนการบริหารจัดการฐานข้อมูลในแต่ละระบบงาน สนับสนุนการสร้างมาตรฐานในการพัฒนาระบบงาน ระดับองค์กร สนับสนุนการบริหารจัดการฐานข้อมูลขององค์กร สนับสนุนการทำงานของผู้บริหาร สนับสนุนการวางแผนเกี่ยวกับระบบงานคอมพิวเตอร์

พจนานุกรมข้อมูล ประเภทของพจนานุกรมข้อมูล แบบ Passive สร้างขึ้นโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล แบบ Active สร้างขึ้นโดยระบบจัดการฐานข้อมูลนั้น แบบ Alien เป็นพจนานุกรมข้อมูลของระบบงานทั้งหมดในองค์กร แตกต่างจาก 2 ระบบแรกที่เป็นของแต่ละระบบงาน

วิธีการและหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ วัตถุประสงค์การออกแบบฐานข้อมูล คือการสร้างฐาน ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน

วิธีการและหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ วิธีการออกแบบฐานข้อมูล มี 2 วิธี คือ วิธีอุปนัย การออกแบบฐานข้อมูลจากล่างขึ้นบน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลหรือโปรแกรมที่มีการใช้งานอยู่แล้วมาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน วิธีนิรนัย การออกแบบฐานข้อมูลจากบนลงล่าง โดยการสัมภาษณ์, รวบรวมเอกสารที่ใช้ภายในระบบงาน

วิธีการและหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ความต้องการในการใช้ข้อมูล การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด การนำฐานข้อมูลที่ออกแบบเข้าสู่ระบบจัดการฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ การนำฐานข้อมูลไปใช้และประเมินผล