มาตรการด้านการวินิจฉัย และ การดูแลรักษาพยาบาล ผู้ป่วยโรคชิกุนคุนย่า มาตรการด้านการวินิจฉัย และ การดูแลรักษาพยาบาล ผู้ป่วยโรคชิกุนคุนย่า กรมการแพทย์
Cycle of Infection
Chikungunya Infection ในประเทศไทย พ.ศ. 2501 ระบาดครั้งแรก ตรวจพบที่กรุงเทพมหานคร(40,000/2,000,000) 2% พ.ศ. 2519 จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2531 จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2534 จังหวัดขอนแก่น(96) พ.ศ. 2536 จังหวัดเลย และจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2538 จังหวัดนครศรีธรรมราช (576) และจังหวัด หนองคาย(331)
82 คน,, Median age = 54 ปี (range=8-81), < 15 yr old= 2
CHIK Fever IP : 2-3 days (1-12 days) Clinical Feature: - Fever, acute onset, high 2-4 days - Joint pain / swelling - Skin rash(MP) +/- itchy - headache / retro-orbital pain - myalgia - GI symptoms/signs - Petechiae (+/- tourniquet test) Laboratory:CBC- normal - leukopenia, norm.platelet Treatment: Symptomatics.
อาการและอาการแสดงผู้ป่วยชิกุนคุนย่า นพ. ธงชัย สสจ.นราธิวาส
Lancet Infect Dis 2007;7:319–27
ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดข้อ อาการและอาการแสดง ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดข้อ ผื่นแดง และอาการทั่วไปอื่น ๆ เช่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อาการจะคงอยู่โดยเฉลี่ยประมาณ 7 วัน ระยะฟักตัวของโรค (incubation period) 2-3 วัน( range of 1-12 days.)
พบอาการชักจากไข้สูงในเด็กได้บ่อยกว่าไข้เลือดออก ข้อมูลผู้ป่วยในจังหวัดนราธิวาส อุณหภูมิเฉลี่ย 39.1 c ไข้สูงมากกว่า 39 c ถึง 50% ไข้มากกว่า 40 c พบถึง 17% พบอาการชักจากไข้สูงในเด็กได้บ่อยกว่าไข้เลือดออก (Chik 15% VS Den 5 %)
ลักษณะการปวดข้อ polyarthralgia มากกว่า arthritis มักพบในข้อเล็กๆ เช่น ข้อมือ เท้า ข้อนิ้วมือ เท้า แล้วถึงไปที่ข้อใหญ่ เช่น ข้อเข่า ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อสะโพก.
อาการของผู้ป่วยชิกุนคุนย่า day 1 2 3 4 5 6 7 40 39 38 37 36 rash Joint Large small 11 ก.พ. 2551 นพ ธงชัย สสจ. นราธิวาส
CHIKUNGUNYA FEVER : JOINT SWELLING ภาพจาก นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
ปวดข้อ ข้อบวม ภาพจาก นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
ลักษณะผื่นใน CHIKUNGUNYA FEVER ภาพจาก นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
การวินิจฉัยแยกโรค dengue fever dual infection of Chikungunya and Dengue Rubella
Summary of Dengue Fever Symptomatology (Dengue type I) Percent 20 40 60 80 100 Fever Myalgia Headache Skin itch Arthralgia Bone Pain URTI Depression Lymphadonopathy Hemorrhagic Diarrhea/Vomiting mild 12% mod. 29% severe 59% (mean duration 6 days) biphasic 89% + photophobia retro-orbital 88% trunk alone 13% trunk + Arm &/or leg 37% maculopapular 91% all areas 15% arm and/or legs 23% palms and soles 56% combination 47% large joints cervical 46% inguinal (duration mean 3 days) 99% 93% 92% 91% 74% 60% 39% 38% 37% Rash 31% 17% 10% all areas 38% all joints Spine, hips, shoulders 15% axillary 8% long bones 25% spine 21% Mean age 32.2 years An analysis of signs and symptoms in 105 cases in the Cairns Dengue Epidemic 1981-82 Guard RW, Stallman ND, Wiemers MA. Med J. Aust. 1984 Jun 23; 140 (13) 765-9 Patechiae Gingival Hoemorrhages Epistaxis Hoematuria Dengue fever outbreak at Guard, australia 1984
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยไข้ออกผื่นปวดข้อ (62 ราย) หมู่ที่ 2 ตำบลเซกา อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย, มิถุนายน - 11 สิงหาคม 2538 ร้อยละ Fever Joint pain Rash Headache Joint swelling Vomiting Abdominal pain สุนทร เหรียญภูมิการกิจ และ คณะ สุนทร เหรียญภูมิการกิจ และ คณะ
Chikungunya Dengue fever High fever ~ 5 - 7 days, may be biphasic Fever, acute onset, high 2-4 days - Joint pain / swelling - Skin rash(MP) +/- itchy - headache / retro-orbital pain - myalgia - GI symptoms/signs - Petechiae (+/- tourniquet test) Laboratory:CBC- normal - leukopenia, norm.platelet Dengue fever High fever ~ 5 - 7 days, may be biphasic Headache, retro - orbital pain, muscle, bone and joint pain Rash : diffuse flushing, erythrematous Leukopenia, occasionally thrombocytopenia More severe in adults (than children)
Treatment Chikungunya fever is not a life threatening infection. Symptomatic treatment for mitigating pain and fever using anti-inflammatory drugs along with rest usually suffices.
การดูแลรักษา ไม่มีการรักษาเฉพาะ เป็นการรักษาตามอาการ โรคจะหายเองได้ ไม่มีการรักษาเฉพาะ เป็นการรักษาตามอาการ โรคจะหายเองได้ การรักษาตามอาการ Supportive care การพักพร้อมการทำกายภาพเบา ๆ เพื่อป้องกันข้อยึดติด
สิ่งที่ควรคำนึงในการรักษา(1) การใช้ยา non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAID) ในกรณีปวดข้อ : ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะ โรคไต และโรคหัวใจ ไม่แนะนำการใช้ steroids ในระยะเฉียบพลัน เพราะมีผลข้างเคียงมากกว่า
การดูแลรักษา(ต่อ) รายที่มีอาการปวดข้อเรื้อรัง (ร้อยละ 12) คือปวดข้อต่อเนื่องกันนานมากกว่า 6 สัปดาห์ การรักษาแนะนำการให้ทำกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันข้อติดและการใช้ NSAID เพื่อลดอาการปวดข้อ
สิ่งที่ควรคำนึงในการรักษา (2) กรณีปวดข้อ อาการไม่ดีขึ้น แนะนำส่งต่อให้ แพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่ม ดูแล การใช้ chloroquin วันละ 250 mg ร่วมกับ NSAID ต้องระวังผลข้างเคียงระยะยาวของ chloroquin ต่อดวงตาและการมองเห็นได้
คำแนะนำสำหรับโรงพยาบาล กรณีที่ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาล ต้องระวังยุงกัดผู้ป่วยและจะแพร่โรคไปยังผู้ป่วยรายอื่น รวมถึงบุคลากรอาจจะติดโรคได้ อาจจะต้องใช้มุ้ง หรือมุ้งลวดตลอดระยะที่มีไข้ แนะนำให้โรงพยาบาลทุกแห่งต้องทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง และแจกยาทากันยุงให้ผู้ป่วย 5 วัน นับตั้งแต่วันเริ่มป่วย
ขอบคุณ