บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การบริหารกลุ่มและทีม
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Participation : Road to Success
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงสร้างขององค์การ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
บทบาทของข้อมูลการตลาด
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
Change Management.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ

ขอบเขตเนื้อหาในวันนี้  ความหมายและวัตถุประสงค์ของการเปลี่ยนแปลง  กระบวนการและรูปแบบของการเปลี่ยนแปลง  สาเหตุที่บุคคลต่อต้านการเปลี่ยนแปลง  การจัดการกับการเปลี่ยนแปลง  เป้าหมายและกระบวนการในการพัฒนาองค์การ  ระดับของการพัฒนาองค์การ  การพัฒนาองค์การระดับองค์การ กลุ่มและบุคคล  การดำเนินการพัฒนาองค์การ

การเปลี่ยนแปลง หมายถึง การปรับแต่งหรือการปรับปรุงระบบอ้างอิง หมายถึง การปรับแต่งหรือการปรับปรุงระบบอ้างอิง ให้มีความแตกต่างจากเดิม ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาและในหลายระดับ ไม่มีองค์การ ใดที่สามารถอยู่รอดและดำเนินการได้โดยไม่ปรับตัว ให้สอดคล้องกับข้อจำกัดของสถานการณ์ โดยเฉพาะ องค์การสมัยใหม่ที่นอกจากจะปรับตัวตามให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงแล้ว ยังอาจต้องเป็นผู้นำและผู้สร้าง การเปลี่ยนแปลงทั้งภายในองค์การและต่อปัจจัย แวดล้อมภายนอก

ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง  การเปลี่ยนแปลง = การปรับแต่ง หรือปรับปรุงให้ แตกต่างไปจากเดิม จะเกิดขึ้นเมื่อมีความผันแปรของ  โครงสร้างองค์การ  การนำเทคโนโลยีมาใช้ในองค์การ  บุคลากร  การสร้างการเปลี่ยนแปลง = การสร้างแผนดำเนินการ ในการปรับแต่งให้มีความแตกต่างไปจากเดิม และนำแผน การที่กำหนดขึ้นมาดำเนินการ ตลอดจนควบคุมและพัฒนา ให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์

ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)  ตัวแทนการเปลี่ยนแปลง = บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ได้ รับมอบหมายให้เป็นผู้สร้าง หรือบริหารกระบวนการเปลี่ยน แปลงภายในองค์การ อาจเป็นบุคคลจากภายในหรือภายนอก ภายในองค์การ ภายนอกองค์การ ข้อดี มีความรู้ ความเข้าใจวัฒนธรรม ประเพณี และนโยบายขององค์การ ข้อเสีย มีกรอบความคิดภาพรวมขององค์การที่แคบ ข้อดี เห็นภาพรวมขององค์การได้ถูกต้อง ไม่มีอคติ มองได้กว้างกว่าบุคลากรภายใน ข้อเสีย ขาดความเข้าใจวัฒนธรรม ประเพณี ฯ

การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม แบบตอบสนอง วัตถุประสงค์ของการเปลี่ยนแปลง แบบเตรียมพร้อม การเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากร

กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทำให้คงตัว สถานะใหม่ เคลื่อนย้าย ละลาย สถานะเดิม

แบบจำลองการเปลี่ยนแปลงของระบบ กระตุ้น ปรับเปลี่ยน สร้างความคุ้นเคย

สาเหตุที่บุคคลต่อต้านการเปลี่ยนแปลง การสูญเสียความเข้าใจ การเปลี่ยนแปลง การต่อต้าน การสูญเสียส่วนบุคคล  อำนาจ  ฐานะทางเศรษฐกิจ  ฐานะทางสังคม  ความสะดวกสบาย  ความมั่นคง  ความเชี่ยวชาญ

การจัดการกับการเปลี่ยนแปลง (Management of Change)  การติดต่อสื่อสาร  การส่งเสริมการมีส่วนร่วม  การอำนวยความสะดวก และการให้การสนับสนุน  การเจรจาต่อรอง  การแทรกแซง และการสร้างแนวร่วม  การบังคับ การเปลี่ยน แปลง ลดแรงต้านทาน

การจัดการ การเปลี่ยนแปลง โดยผ่าน การพัฒนาองค์การ

การพัฒนาองค์การ (Organization Development) กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบ ภายในองค์การ โดยที่มีการวางแผนล่วงหน้าในเรื่องต่าง ๆ อาทิ กำหนดผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงและ ศึกษาผลกระทบและวิธีการแก้ไขเพื่อให้องค์การสามารถ ดำรงอยู่ได้อย่างเหมาะสม และสามารถดำเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาบุคลากรให้มี ศักยภาพในการปฏิบัติงานและมีคุณภาพชีวิตการงานที่ดี ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

เป้าหมายการพัฒนาองค์การ  กระบวนการ (Process Goals) มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น การตัดสินใจ การติดต่อสื่อสาร ฯลฯ  ผลลัพธ์รวม (Outcomes Goals) การพัฒนาองค์การจะให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานขององค์การ โดยมุ่งพัฒนาความสามารถในการปรับตัวขององค์การให้สามารถดำเนินงานภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

กระบวนการในการพัฒนาองค์การ 1. การวินิจฉัย 3. การเสริมแรง 2. การปฏิบัติ

ระดับของการพัฒนาองค์การ ระดับองค์การ การพัฒนาองค์การ ระดับกลุ่ม ระดับ บุคคล

การพัฒนาองค์การระดับองค์การ  การสำรวจข้อมูลย้อนกลับ = เพื่อประมวลและสะท้อนข้อมูล ให้แก่ผู้บริหารและสมาชิกขององค์การเพื่อกำหนดแนวทางและวิธีการปรับปรุงการดำเนินงานขององค์การให้เหมาะสม  การประชุมร่วมกัน = การประชุมร่วมระหว่างตัวแทนหรือสมาชิกขององค์การในหลายระดับ โดยเปิดโอกาสให้เผชิญหน้าและติดต่อสื่อสารระหว่างกันโดยตรง เพื่อหาแนวทางสำหรับการดำเนินการ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการแก้ไขปัญหาหรือข้อขัดแย้งขององค์การ

การพัฒนาองค์การระดับองค์การ (ต่อ)  การออกแบบโครงสร้างใหม่ = การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น องค์การต้องทำการปรับโครงสร้างทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อให้องค์การสามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถานการณ์  องค์การแบบขนาน = การนำตัวแทนสมาชิกจากหลายส่วนขององค์การเข้ามารวมกลุ่มชั่วคราว เพื่อร่วมตัดสินใจและหาแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น

การพัฒนาองค์การระดับกลุ่ม  การสร้างทีมงาน = การให้ความรู้และทักษะของการทำงานเป็นทีม โดยการกระทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เพื่อสร้างความสัมพันธ์ในเชิงสร้างสรรค์ระหว่างสมาชิกและการแก้ไขปัญหาเป็นกลุ่ม  การให้คำปรึกษาด้านกระบวนการ = เป็นการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างสมาชิก โดยมีตัวแทนการเปลี่ยนแปลง ที่ปรึกษาหรือนักพัฒนาองค์การให้ความช่วยเหลือ เพื่อพัฒนากระบวนการมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่ม

การพัฒนาองค์การระดับกลุ่ม (ต่อ)  การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม = เป็นการดำเนินกิจกรรมร่วมกันเพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และทักษะของการอยู่ร่วมกันระหว่างกลุ่ม เช่น การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์ให้แต่ละกลุ่มสามารถร่วมงานกันอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากความซ้ำซ้อนและความยากของงานปัจจุบัน ทำให้หลายกลุ่มงานต้องร่วมมือประสานงานทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม

การพัฒนาองค์การระดับบุคคล  การฝึกความอ่อนไหว = บุคคลมีความแตกต่างกัน จึงมีการพัฒนาการฝึกความอ่อนไหวเพื่อสร้างความตื่นตัวต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยการจัดการฝึกอบรมกลุ่มย่อยที่เรียกว่า “กลุ่มฝึกอบรม” หรือ “T-Group” ประกอบด้วยบุคคลที่ไม่มีความคุ้นเคยกันและมีความแตกต่างกันมากระทำกิจกรรมร่วมกัน และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้สึกระหว่างกัน เพื่อให้แต่ละฝ่ายเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล

การพัฒนาองค์การระดับบุคคล (ต่อ)  การเจรจาเรื่องบทบาท = เป็นกระบวนการพัฒนาองค์การที่เปิดโอกาสให้สมาชิกแต่ละคนแสดงความคาดหวังในบทบาทของตนเองและเพื่อนร่วมงานในการปฏิบัติงานร่วมกัน เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างกันและไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในการร่วมงาน  การออกแบบงานใหม่ = เป็นการศึกษาและออกแบบงานใหม่ให้เหมาะสมกับความต้องการในแต่ละสถานการณ์ เพื่อให้สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ ตลอดจนสามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

การพัฒนาองค์การระดับบุคคล (ต่อ)  การวางแผนอาชีพ = เป็นการจูงใจให้บุคคลปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ มีการเปิดโอกาสให้สมาชิกได้พัฒนาตนเองทั้งในตำแหน่งหน้าที่และประสบการณ์ในงาน เพื่อจะได้มีความก้าวหน้าในอาชีพในอนาคต เพื่อเป็นแนวทางให้แต่ละบุคคลทราบว่าต้องปฏิบัติตนอย่างไร และพัฒนาตนเองในด้านใด เพื่อให้ประสบความสำเร็จตามแผนที่วางไว้ ตลอดจนเป็นการจูงใจให้บุคคลปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถเพื่อให้บรรลุความต้องการ

การดำเนินการพัฒนาองค์การ 1. การให้ความนับถือต่อบุคคล 2. ความเชื่อมั่น 3. ความเท่าเทียมของอำนาจ การพัฒนาองค์การ องค์การ 4. ความเปิดเผย 5. การมีส่วนร่วม

สรุป การเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ประกอบ การเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ประกอบ ด้วยขั้นตอนสำคัญ 3 ขั้นตอน คือ การละลายพฤติกรรม การเคลื่อนย้ายและการทำให้พฤติกรรมคงตัว โดยที่การ สร้างการเปลี่ยนแปลง เป็นการกำหนดแผนการดำเนินงาน ในการปรับแต่งระบบอ้างอิงให้แตกต่างไปจากเดิม และจะ เกิดแรงต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงขึ้นทุกครั้งที่เกิดการ เปลี่ยนแปลง โดยมีสาเหตุจากการสูญเสียความเข้าใจและ การสูญเสียส่วนบุคคล

สรุป (ต่อ) การพัฒนาองค์การ เป็นวิธีการและเทคนิคสำคัญที่หลาย การพัฒนาองค์การ เป็นวิธีการและเทคนิคสำคัญที่หลาย หน่วยงานนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาศักยภาพ และความ เหมาะสมในการดำรงอยู่ขององค์การ เป็นกระบวนการที่ใช้ ในการเปลี่ยนแปลงสภาพการทำงาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากรขององค์การพร้อมกับปรับปรุงให้การ ดำเนินงานตามภารกิจขององค์การให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยสามารถแบ่งการพัฒนาองค์การออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระดับกลุ่มและระดับองค์การ