ระบบการบัญชาการในสถานการณ์ (Incident Command System: ICS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
กระบวนการวางแผน (Planning Process)
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
รูปแบบการฝึกซ้อม (Types of exercise)
ระบบเครือข่ายข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารระหว่างประเทศ
โครงการอาหารปลอดภัย ปลอดโรคในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
น้ำท่วม 2554.
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
คณะกรรมการตอบโต้ภัยพิบัติ เขตบริการสุขภาพที่ 1
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการบัญชาการในสถานการณ์ (Incident Command System: ICS) กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี 19 กรกฏาคม 2555

หลักการบริหารจัดการอุบัติภัย คาดการณ์ เฝ้าระวัง เตือนภัย รับมือ ฟื้นฟู ก่อน ระหว่าง หลัง Prevention Preparedness Response Recovery

หลักทั่วไปในการบริหารจัดการขณะเกิดอุบัติภัย 4C&1I Command & Control Co-operation Co-ordination Communication Information (Intelligence)

หลักทั่วไปในการบริหารจัดการขณะ เกิดอุบัติภัย หลักทั่วไปในการบริหารจัดการขณะ เกิดอุบัติภัย ใช้ได้กับทุกอุบัติภัย ทุกเหตุการณ์ ทุก หน่วยงาน (all hazards, all incident, all agency) Incident Command System และ the Hospital Incident Command System จะช่วยตอบสนองการบริหารจัดการ J Am Acad Orthop Surg. 2007 Jul;15(7):388-96.

ICS คืออะไร? ระบบการจัดองค์กรสำหรับ เพื่อตอบสนองต่อการที่ การบังคับบัญชา (Command), การควบคุม (Control), การประสานงาน (Co-ordination) เพื่อตอบสนองต่อการที่ หน่วยงานหลายๆหน่วยมาร่วมปฏิบัติงานในสถานการณ์เฉพาะ มีเป้าหมายร่วมกันในการระงับสถานการณ์, ปกป้อง ชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม

เมื่อใดจะใช้ ICS สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีหน่วยงานมากกว่าหนึ่งหน่วยงานปฏิบัติงานร่วมกัน อุบัติเหตุรถยนต์ที่มีผู้บาดเจ็บ ไฟไหม้และมีสารเคมีรั่วไหล ภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม, ดินถล่ม, พายุ การก่อการร้ายโดยการวางระเบิด, การจี้จับตัวประกัน การระบาดของโรคติดต่อ

เมื่อใดจะใช้ ICS สถานการณ์ที่มีประชาชนมาชุมนุมกันเป็นจำนวนมาก เช่น การแข่งขันกีฬา, การแสดงดนตรี, งานเทศกาลประเพณีประจำปี, การจัดประชุม ฯลฯ

Finance/ Administration Section ICS Organization โครงสร้างองค์กรประกอบด้วย 5 ส่วนหลักคือ ส่วนบัญชาการ (Command) ส่วนวางแผน(Planning) ส่วนปฏิบัติการ(Operation) ส่วนสนับสนุน(Logistics) ส่วนงบประมาณ(Finance) Logistics Section Finance/ Administration Section Operations Section Planning Section Incident Command

สรุป: ใครทำ ใครช่วย ใครจ่าย ภารกิจ 5 หน่วยหลัก Command : เราต้องทำอะไร? Planning/Intelligent : ขณะนี้เกิดอะไรขึ้น? อะไรคือสิ่งจำเป็น ที่ต้องทำ? Operations : เราต้องปฏิบัติการอย่างไร? Logistics : เราจะสนับสนุนอย่างไร? Finance/Admin : เราจะบันทึกและใครเป็นผู้จ่ายค่า ดำเนินการ? สรุป: ใครทำ ใครช่วย ใครจ่าย

ภารกิจ 5 หน่วยหลัก Planning/Intelligent : ขณะนี้เกิดอะไรขึ้น? อะไรคือ สิ่งจำเป็นที่ต้องทำ? Command : เราต้องทำอะไร? Operations : เราต้องปฏิบัติการอย่างไร? Logistics : เราจะสนับสนุนอย่างไร? Finance/Admin : เราจะบันทึกและใครเป็นผู้จ่ายค่า ดำเนินการ?

หน้าที่ของ Incident Commander บังคับบัญชาและรับผิดชอบต่อภารกิจ. ดูแลให้เกิดความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน. ปกป้องชีวิต สุขภาพ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน เป็นผู้ให้ข้อมูลข่าวสารต่อภายในและภายนอกหน่วยงานตลอดจนสาธารณชน ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงาน

ใครคือผู้บัญชาการเหตุการณ์ ผู้บังคับบัญชาอาวุโสที่มาถึงเหตุการณ์คนแรก ขึ้นกับสถานการณ์ จลาจล : ตำรวจ ไฟไหม้ : ดับเพลิง โรคติดต่อ : สาธารณสุข การก่อการร้าย : หน่วยงานความมั่นคง อาจส่งต่อให้ผู้เชี่ยวชาญหรือเหมาะสมภายหลัง

ผู้ช่วยผบ.เหตุการณ์ Information Officer Safety Officer Liaison Officer

Information Officer เป็นผู้รับผิดชอบต่อข่าวสารสาธารณะ Incident Commander Safety Officer Liaison Officer Information Officer เป็นผู้รับผิดชอบต่อข่าวสารสาธารณะ

Safety Officer Incident Commander Liaison Officer Information Officer ประเมินและติดตามสถานการณ์เพื่อความปลอดภัย มีอำนาจยับยั้งการปฏิบัติงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย

Liaison Officer Incident Commander Safety Officer Liaison Officer Information Officer Agency Representative เป็นผู้ประสานงานหลักกับหน่วยงานอื่นๆ

Planning Section ช่วยเหลือการตัดสินใจของผบ. เหตุการณ์ ให้ข้อมูลเพื่อประเมินติดตามภารกิจและเป้าหมาย ใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผน ให้ข้อมูลเพื่อการประเมินทบทวน PLANNING SECTION

The Plan Consolidator Plans Section Chief Resource Situation Status What Do We Do Next? Incident Action Plan (IAP) For All Functions Plans Section Chief

Prevention, surveillance and control Operations Section OPERATIONS SECTION เป็นผู้รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการในภารกิจ ดำเนินงานตาม Incident Action Plan Operation Prevention, surveillance and control Treatment and care Lab Treatment and care District SRRT Patient tracing Control Provincial SRRT Sanitation and environment control Support team

Sustains the emergency operations Logistics Section ภารกิจ สนับสนุนทรัพยากรทุกประเภท บุคลากร ทรัพยากรสนับสนุนอื่นๆ Logistics Section Sustains the emergency operations

Finance Section ภารกิจ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การเงินการบัญชี จำเป็นเฉพาะกรณีเหตุการณ์ใหญ่ๆ Finance Section

INCIDENT COMMAND SYSTEM (ICS) ขนาดของโครงสร้างองค์กรขึ้นอยู่กับเหตุการณ์และภารกิจ Unify command สายบังคับบัญชาสายเดียว รับคำสั่ง รายงานตรงเพียงบุคคลเดียว ระดับเขต ระดับกระทรวง/กรม ระดับจังหวัด/พื้นที่/หน่วยงานย่อย

ที่ตั้งการบัญชาการ Location is important บริเวณที่ปลอดภัย มีห้องน้ำ ห้องสุขา หาอาหารได้ง่าย อยู่ห่างจากจุดปฏิบัติการพอเหมาะ กว้างขวางพอเพียง

การสื่อสาร โทรศัพท์ภายใน โทรศัพท์ภายของ วิทยุสื่อสาร ทีวี, วิทยุ, จอควบคุม เครื่องคอมพิวเตอร์ กระดานระบุสถานการณ์

วัสดุพื้นฐานที่จำเป็น ปากกา ดินสอ กระดาษ แบบฟอร์มต่างๆ แผนที่ โครงสร้างทางวิศวกรรม กระดานบอร์ด ป้ายเครื่องหมายระบุบุคคล เครื่องมือ ชุดปฏิบัติการ

โครงสร้างตาม ICS ในการควบคุมอหิวาตกโรค ตค.2550 Incident commander ผชชว. Liaisons Information officer Security Operation Financial District SRRT Patient tracing Control Provincial SRRT Logistic support Lab Treatment and care Planning (War room) Situation Analysis& sources identification M&E Operation analysis Public education Drug sensitivity Technical consultant Medical Public health Man power Volunteers Lab supplies Medical supply Food and beverage Transportation Documentation support Communication Provincial level District level Consultant/policy สสจ. Prevention, surveillance and control Sanitation and environment control Support team

Summary

Training Planning Risk Assessment Review Evaluation ซ้อมแผน

ซ้อมแผน Training Planning Risk Assessment Review Evaluation Prevention Warning System ICS Operation Stockpile Finance Man ซ้อมแผน

Specific Dis./Disaster Training Planning Risk Assessment Review Evaluation PHER Concept Specific Dis./Disaster Triage Communication Technical Skill ซ้อมแผน

Risk Assessment Review Planning Evaluation Training ซ้อมแผน Incident

ซ้อมแผน Risk Assessment Review Planning Evaluation Training ICS Response Incident

ขอบคุณครับ