แบบนำเสนอผลงานโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
Advertisements

แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานีอนามัยบ้านแมด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
อาสาสมัครสาธารณสุขดีเด่น สาขาควบคุมโรคติดต่อ
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ตุลาคม 2553 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบนำเสนอผลงานโครงการ “การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555” วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม 2555 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1. ชื่อผลงาน : พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน 2. เจ้าของผลงาน : นางประกาย พิทักษ์ นางสาวพจนีย์ ขันศรีมนต์ นางสาวอรวรรณ ปรันเสน นายสะอาด โยธาทูน นางจันทร์เพ็ญ ศรีขา 3. ประเภทผลงานตามพันธกิจ : การบริการวิชาการและวิชาชีพ 4. ข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน / ความสำคัญ โรคติดต่อเป็นโรคที่สำคัญที่จะต้องมีระบบการเฝ้าระวังโรค มีเครือข่ายในการรายงานโรค และ ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT : Surveillance Rapid Respons Team) ถ้าบุคลากรในหอผู้ป่วย ห้องตรวจต่างๆ หรือ ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบ ขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคติดต่อการแพร่กระจายโรครวมทั้งระบบการรายงานโรค การดำเนินการป้องกันหรือสอบสวนโรคได้ไม่ทันตามกำหนด ในระยะฟักตัวของเชื้อก่อโรค เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด โรคคางทูม โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ จะทำให้เกิดโรคระบาดในชุมชนได้ง่าย ซึ่งการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อต้องอาศัยความร่วมมือ ของบุคลากรทางการแพทย์ เครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน ผู้นำชุมชน ครู จึงจะประสบผลสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้ชุมชนและเครือข่ายเฝ้าระวังโรค ให้มีความรู้ความเข้าใจปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชุมชนดูแลตนเองได้ดี ปลอดภัยจากโรคระบาด ชุมชนมีส่วนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มแข็ง และยั่งยืน พร้อมรับและแก้ไขปัญหาสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อและภัยสุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.วิธีดำเนินการ (How to) ดังนี้ 1) การสำรวจชุมชน สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน 2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้นำชุมชน อสม. ครู อนามัย จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายทุกเดือน เล่าประสบการณ์การทำงาน 3) รณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ โรคระบาดในชุมชนโดยเครือข่าย 4) ถอดบทเรียน ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน ปัจจัยความสำเร็จของการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ระยะเวลาดำเนินการ 1 มิถุนายน–31 กรกฎาคม 2555 1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การเฝ้าระวังโรคในชุมชน 6.ผลการดำเนินงาน มีเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดต่อและภัยสุขภาพ ที่เข้มแข็งและยั่งยืน 10 ชุมชน เครือข่ายโรคไข้เลือดออกในชุมชนสามเหลี่ยม ชุมชนหมู่บ้านไทยสมุทร ชุมชนตะวันใหม่ ชุมชนหนองแวง เครือข่ายป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ศูนย์เลี้ยงเด็กกลางวันสามเหลี่ยม ผลการประเมินการดำเนินงาน อยู่ในระดับดี และดีมาก เครือข่ายเข้าร่วมและจัดโครงการ รณรงค์ป้องกันโรคเลือดอออก ร่วมกันในชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคระบาด ในชุมชน อาสาสมัครสาธารสุขชุมชนนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ต่อ 2.ลงพื้นที่ รณรงค์ ป้องกันควบคุมโรคในชุมชน 7.ปัจจัยที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ (Key success factors) การทำงานร่วมกันด้วยความเต็มใจ ตั้งใจของเครือข่าย การได้รับการสนับสนุน สร้างแรงจูงใจ และการให้ความสำคัญ ยกย่อง ชมเชยการดำเนินงานของเครือข่าย 3.แลกเปลี่ยนประสบการณ์ นำผลการทำงานมานำเสนอ 8.ข้อเสนอแนะอื่น ๆ เพื่อให้การดำเนินงานของเครือข่ายมีความเข้มแข็งและยั่งยืนตลอดไป ชุมชนสามารถดูแลตนเองได้ โรงพยาบาลควรสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมและ จัดประกวดเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและผลงานดีเด่นในปี 2556 ต่อไป หน่วยระบาดวิทยาโรคติดต่อ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ โทร. 043 363568,085 682 2191