การจัดทำหอพักเครือข่ายของสถาบันการศึกษา ปกรณ์ สันตินิยม 17 กุมภาพันธ์ 2552 1
Input Process Output หอพักเครือข่าย นักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต สถาบัน การศึกษา หอพัก เอกชน นักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต
ความคาดหวัง ต่อหอพักเอกชน เอื้อต่อ การศึกษาเล่าเรียน การพักอาศัย “บ้านหลังที่สอง” ผู้ประกอบการ หอพัก แนวทางสู่หอพัก มาตรฐาน ความคาดหวัง ต่อหอพักเอกชน
คุณสมบัติเบื้องต้น 1. ปฏิบัติตามนโยบายจัดระเบียบหอพักของกระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2. ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ด้านหอพัก 3. ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของสถาบันการศึกษา
เหตุผลความจำเป็น สถาบันการศึกษา 1. สถาบันการศึกษาบางแห่งไม่มีหอพัก 2. รัฐไม่สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างหอพักนักศึกษา 3. หอพักนักศึกษาของสถาบันรับนักศึกษาได้น้อย 4. นักศึกษาหอในได้รับการดูแลเอาใจใส่มากกว่านักศึกษาหอนอก 5. กระแสวัฒนธรรมตะวันตก/อบายมุข
เหตุผลความจำเป็น ผู้ประกอบการหอพัก 1. ถูกกำกับดูแลโดยนโยบายและกฎหมายต่างๆ อย่างเคร่งครัด 2. นักศึกษามากกว่า 80 % พักในหอพักเอกชน 3. สภาพการแข่งขันของธุรกิจหอพัก/ที่พักอาศัย 4. การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. การเป็นจำเลยทางสังคม (หอเถื่อน) 6. สู่หอพักมาตรฐาน
หอพักเอกชน เหตุผลความจำเป็น ต้องสร้างจุดขายเชิงบวก ตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การพักอาศัย การสร้างคุณภาพชีวิต บริการหลักของหอพัก การพักอาศัย การสร้างคุณภาพชีวิต
เอื้อต่อการเรียนรู้ การสร้างคุณภาพการศึกษา บริการหลักของหอพัก เอื้อต่อการเรียนรู้ การสร้างคุณภาพการศึกษา
การดูแลเอาใจใส่ การสร้างภูมิต้านทานทางสังคม บริการหลักของหอพัก การดูแลเอาใจใส่ การสร้างภูมิต้านทานทางสังคม
แนวปฏิบัติการจัดทำหอพักเครือข่าย มจธ. ฐานข้อมูลหอพักรอบ มจธ. ตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น ส่งหนังสือเชิญ ตรวจเยี่ยม/ คัดเลือก ประกาศรับรองเป็นหอพักเครือข่าย มจธ. หอพักดีเด่นของกระทรวง พม.
แนวปฏิบัติการจัดทำหอพักเครือข่าย มจธ.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นหอพักเครือข่ายของสถาบันฯ 1. การเป็นหอพักมาตรฐาน การพักอาศัย เอื้อต่อการเรียนรู้ การดูแลเอาใจใส่ 2. การรับนักศึกษาเข้าพัก รับรู้ข้อมูล การเผยแพร่/แนะนำ การส่งต่อ 3. การรับการช่วยเหลือดูแล คำแนะนำ สนับสนุน ยับยั้ง/คลี่คลายปัญหา 4. มาตรการทางภาษี 5. บุญกุศลอันยิ่งใหญ่
ยินดีต้อนรับสู่.. การเป็นหอพักเครือข่ายของสถาบันการศึกษา ขอบคุณ