“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Advertisements

วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
การจัดการความรู้ในสำนักงานประกันสังคม
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
แนวคิด ในการดำเนินงาน
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิทธิประโยชน์ที่รัฐจัดให้ .. ท่าน(ผู้สูงอายุ) ได้อะไร
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ” ญาณี เลิศไกร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 29 สิงหาคม 2556

สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2555 สัดส่วนประชากรวัยผู้สูงอายุมีอัตราการเพิ่มขึ้นสูงมากอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันประมาณ 1 ใน 10 ของประชากรไทย เป็นประชากรสูงวัย และภายในปี พ.ศ. 2573 คาดประมาณกันว่าสัดส่วนดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นเป็น 1 ใน 4 หรือจำนวนผู้สูงอายุคิดเป็น 25% ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ ผู้สูงอายุวัยปลาย (80+) จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้หญิงกลายเป็นประชากรส่วนใหญ่ในวัยสูงอายุ อัตราส่วนของประชากรวัยแรงงานที่จะมาเกื้อหนุนประชากรสูงอายุจะลดน้อยลงอย่างมาก

สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2555 จำนวนผู้สูงอายุ ปี 2555 จำนวน 8,170,909 คน แบ่งเป็นช่วงอายุ ดังนี้ 60-69ปี 4,133,163 คน 70-79ปี 2,403,819 คน 80ปีขึ้นไป 956,245 คน รวม 8,170,909 คน

สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2555 ช่วงอายุ 60-69 ปี 4,541,021 คน - ส่งเสริมสุขภาพ สังคม การมีส่วนร่วม - ส่งเสริมการมีงานทำ ภูมิปัญญา (13.3%) (31.1%) (55.6%) ช่วงอายุ 70-79 ปี 2,542,247 คน - ส่งเสริมสุขภาพ สังคม การมีส่วนร่วม - การให้บริหารดูแลที่บ้านและชุมชน ช่วงอายุ 80 ปี ขึ้นไป 1,087,641 คน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ - การให้การบริหารดูแลที่บ้าน ที่มา:ทะเบียนราษฎร ปี 2555 กรมการปกครอง

การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ กระทรวง พม. ดำเนินการตามภารกิจหลัก ภายใต้กรอบกฎหมายและแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 – 2564) ซึ่งเป็นแผนยุทธศาสตร์หลักในการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นประเด็นสำคัญดังนี้ การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มี คุณภาพ การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ การผลักดันระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ

1. การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 1. การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ 1.1 ส่งเสริมการเตรียมความพร้อมก่อนวัยผู้สูงอายุโดยกำหนดหลักสูตรและเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานเครือข่ายใช้อบรมบุคลากรในหน่วยงาน จัดอบรมหลักสูตรเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โดยมีผู้แทนหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการอมรบพัฒนาบุคลากรจากทุกภาคส่วน เข้าร่วมการอบรม จำนวน 180 หน่วยงาน จัดทำชุดความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุที่มีคุณภาพ เพื่อเผยแพร่แก่หน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ในการจัดอบรมต่อไป

1. การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ (ต่อ) การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 1. การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ (ต่อ) 1.2 การรณรงค์สร้างความตระหนักและสร้างทัศนคติที่ดีต่อผู้สูงอายุ ดำเนินการผ่านกระบวนงานวันผู้สูงอายุแห่งชาติ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในปี 2556 มีจำนวนผู้เข้าร่วมงาน จำนวน 215,870 คน

การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 2. การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ 2.1 ส่งเสริมความเข้มแข็งขององค์กร/ชมรมผู้สูงอายุ โดยส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ - โดยในปี 2556 เริ่มดำเนินการศูนย์ฯ นำร่องทั่วประเทศไทย จำนวน 99 แห่ง 2.2 ส่งเสริมคลังปัญญาผู้สูงอายุ - ปัจจุบัน มีผู้สูงอายุที่ขึ้นทะเบียนอาสาสมัครพัฒนาสังคมด้วยภูมิปัญญา จำนวน 22,576 คน

การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 2. การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ (ต่อ) 2.3 สนับสนุนการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ โดยกองทุนผู้สูงอายุ 2.4 ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคธุรกิจ และสื่อสารมวลชน ร่วมจัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานด้านผู้สูงอายุ - ส่งเสริมความร่วมมือด้านผู้สูงอายุระหว่างหน่วยงานและภาคีเครือข่ายภาคธุรกิจเอกชน (CSR) ดำเนินการประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจในการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์กับผู้สูงอายุ อาทิ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 3. การผลักดันระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ 3.1 การผลักดันระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว โดยร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุขในการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง 3.2 การสร้างหลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ โดยผลักดันนโยบายสำคัญ ดังนี้ 1. การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ แบบขั้นบันได 2. ระบบการออมเพื่อวัยสูงอายุ โดยผลักดันให้เกิด พ.ร.บ. กองทุนการออมแห่งชาติ รวมถึงการผลักดันมาตรการภาษีด้านผู้สูงอายุ อาทิ 1) การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับผู้มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป ส่วนที่ไม่เกิน 190,000 บาท 2) การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับดอกเบี้ยเงินฝากประจำ สำหรับ ผู้มีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปี จำนวนทั้งสิ้นไม่เกิน 30,000 บาท 3) การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินที่จ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 3. การผลักดันระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ (ต่อ) 3.3 การผลักดันมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวดูแลผู้สูงอายุ 1) การลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับบุตรที่เลี้ยงดูบิดาหรือมารดาที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป คนละ 30,000 บาท 2) การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับบุตรที่ได้จ่ายค่าเบี้ยประกันภัยสำหรับการประกันสุขภาพบิดาหรือมารดาของผู้มีเงินได้ เท่ากับค่าเบี้ยประกันที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท 3.4 ผลักดันงานอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้านให้มีครอบคลุมในทุก อปท. - โดยมี อผส. จำนวน 81,833 คนในเขต อปท. จำนวน 7,776 แห่ง ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 864,660 คน

การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ 3. การผลักดันระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ (ต่อ) 3.5 ส่งเสริมให้ อปท. มีส่วนร่วมในการจัดบริการด้านผู้สูงอายุ และให้มีการจัดปรับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ - จัดทำเป็นชุดองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่แนวคิดและถ่ายทอดองค์ความรู้ - ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย อปท. แกนนำชุมชน ภาคธุรกิจ ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปในชุมชน ดำเนินงานการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุทั้งในบ้าน อาทิ การจัดทำราวจับช่วยพยุงตัว ทางลาด ปรับสภาพแวดล้อมฯ ในห้องน้ำ เพิ่มแสงสว่าง และการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะและสภาพแวดล้อมในชุมชน ได้แก่ ถนน ทางสัญจร สะพานทางเดิน ห้องน้ำสาธารณะ พื้นที่ในวัด และสถานีอนามัย เป็นต้น

สิทธิประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ในมาตรา 11 (1) – (13) ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ดังนี้

(1) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงกลาโหม - กระทรวงศึกษาธิการ - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - กรุงเทพมหานคร - รัฐวิสาหกิจ ดำเนินการโดยการจัดช่องทางพิเศษ ในโรงพยาบาลสำหรับให้บริการผู้สูงอายุ

(2) การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงวัฒนธรรม - สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงสาธารณสุข - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(3) การประกอบอาชีพและการฝึกอาชีพที่เหมาะสม - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการโดย การส่งเสริมการฝึกทักษะ อาชีพที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ

(4) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ 2. กระทรวงมหาดไทย 3. กระทรวงวัฒนธรรม 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการโดย การจัดกิจกรรมและบริการ ให้กับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วม ในกิจกรรมทางสังคม

(5) การอำนวยความสะดวกและปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่น กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา ดำเนินการโดย การจัดปรับสภาพแวดล้อม ให้มีความเหมาะสมปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัย ในอาคาร หรือสถานที่

(5) การอำนวยความสะดวกและปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่น 1. กระทรวงคมนาคม 2. กรุงเทพมหานคร ดำเนินการโดย การอำนวยความสะดวก และความปลอดภัยในยานพาหนะ

(5) การอำนวยความสะดวกและปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่น กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดำเนินการ โดย การอำนวยความสะดวก และความปลอดภัยในการบริการสาธารณะอื่น

(6) การช่วย เหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม กระทรวงคมนาคม กรุงเทพมหานคร รัฐวิสาหกิจ ดำเนินการโดย การลดหย่อนค่าโดยสารยานพาหนะตามอัตราที่กำหนด

(7) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ 1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่าและพันธ์พืช 2. หน่วยงานในสังกัดกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ที่จัดเก็บค่าเข้าชมสถานที่ ดำเนินการโดย การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ ให้แก่ผู้สูงอายุ

(8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือ ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือถูกทอดทิ้ง กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม สำนักงานอัยการสูงสุด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีสถานสงเคราะห์คนชรา อยู่ในความรับผิดชอบ ดำเนินการโดย 1.ให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายตามความจำเป็น ในเบื้องต้น 2. การให้บริการผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์

(9) การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดี หรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว 1. กระทรวงยุติธรรม 2. สำนักงานอัยการสูงสุด 3. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ดำเนินการโดย การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดี

(9) การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดี หรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดำเนินการ โดยให้คำแนะนำ ปรึกษา และการดำเนินการอื่น ที่เกี่ยวข้องในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว

(10) การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความจำเป็นอย่างทั่วถึง - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดำเนินการโดย 1.ให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นในเบื้องต้น 2. การให้บริการผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์

(11) จ่ายเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กระทรวงมหาดไทย โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ทุกคนตามเกณฑ์ช่วงอายุเพิ่มขึ้น คือ 1) อายุ 60 – 69 ปี รับเงินเดือนละ 600.- บาท 2) อายุ 70 – 79 ปี รับเงินเดือนละ 700.- บาท 3) อายุ 80 – 89 ปี รับเงินเดือนละ 800.- บาท 4) อายุตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไป รับเงินเดือนละ 1,000.- บาท

(12) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีสัญชาติไทยและเสียชีวิต รายละ 2,000 บาท

(13) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

การดำเนินงานในระยะต่อไป สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุในชุมชนเพื่อส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ ตามนโยบายท่านนายกรัฐมนตรี เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสถานที่สำหรับทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน โดยในปี 2556 จัดตั้งศูนย์ฯ แล้วจำนวน 99 แห่ง และในปี 2557 จะดำเนิน การจัดตั้งศูนย์ในทุกอำเภอ จำนวน 878 แห่งทั่วประเทศ สร้างความรู้และความตระหนักแก่คนทุกช่วงวัยอย่างต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ ทั้งในด้านการส่งเสริมสุขภาพ และด้านเศรษฐกิจ รวมถึงส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ สร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ผ่านกลไกระบบอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน โดยขณะนี้ พม. ได้ผลักดันงานอาสาสมัคร ให้มีครบทุก อปท. ทั่วประเทศไทยแล้วซึ่งขณะนี้เป็นช่วงของการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

ขอบคุณค่ะ สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์