โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มาตรการปรับโครงสร้างประชากรไทย สู่ความยั่งยืน (ส่งเสริมการมีบุตร) 1 โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สถานการณ์แนวโน้มประชากรปัจจุบัน 2 อัตราเจริญพันธุ์ของประเทศไทยลดลงของอย่างรวดเร็ว จาก 2.7 ในปี 2528 ลดลงเหลือ 1.6 ในปัจจุบัน อัตราทดแทนที่ยั่งยืนคือ 2.1 ประชากรวัยเด็กมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ประชากรวัยสูงอายุเพิ่มสูงขึ้น
ข้อมูลแนวโน้มจำนวนประชากรวัยเด็ก วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุ 3 6.4 ล้านคน 7.5 ล้านคน 9 ล้านคน 10.9 ล้านคน 12.9 ล้านคน 14.6 ล้านคน 16 ล้านคน 41.5 ล้านคน 43 ล้านคน 43.3 ล้านคน 43 ล้านคน 41.7 ล้านคน 40.1 ล้านคน 38.3 ล้านคน 14.3 ล้านคน 13.2 ล้านคน 12.3 ล้านคน 11.2 ล้านคน 10.4 ล้านคน 9.8 ล้านคน 9.1 ล้านคน ที่มา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
การคาดการณ์แนวโน้มการลดลง ของประชากรวัยเด็ก การคาดการณ์แนวโน้มการลดลง ของประชากรวัยเด็ก 4 ประชากรวัยเด็ก (ล้านคน) จำนวนประชากรเด็ก อัตราเจริญพันธุ์รวม 14.3 13.2 13.1 (1.74) 12.3 (1.62) 11.2 10.4 (1.60) (1.49) 9.8 (1.36) 9.1 (1.26) (1.19) (1.11) ปี พ.ศ. 2554 ที่มา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
สาเหตุสำคัญของการลดลงอย่างรวดเร็วของประชากรวัยเด็ก 5 สาเหตุสำคัญของการลดลงอย่างรวดเร็วของประชากรวัยเด็ก การคุมกำเนิดมีประสิทธิภาพและแพร่หลายมากขึ้นในคู่สมรส แนวโน้มที่จะมีบุตรคนแรกเมื่ออายุสูงขึ้น และแนวโน้ม การมีบุตรยากเพิ่มสูงขึ้น ประชากรไทยมีแนวโน้มอยู่เป็นโสดเพิ่มมากขึ้น อัตราการหย่าร้างเพิ่มสูงขึ้นในสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง รูปแบบ/ทัศนคติของครอบครัวเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม (ไม่ต้องการมีบุตรเนื่องจากคิดว่าเป็นภาระ)
เป้าหมายการเพิ่มจำนวนเด็กเกิด เพื่อให้ได้อัตราเจริญพันธุ์ทดแทนที่ยั่งยืน 6 ปี 2554 มีอัตราเจริญพันธ์ที่ 1.6 เด็กเกิดจำนวน 796,104 คน ถ้าต้องอัตราเจริญพันธ์ที่ 1.7 เด็กเกิดจำนวน 829,738 คน ถ้าต้องอัตราเจริญพันธ์ที่ 1.8 เด็กเกิดจำนวน 878,547 คน ถ้าต้องอัตราเจริญพันธ์ที่ 1.9 เด็กเกิดจำนวน 927,355 คน ถ้าต้องอัตราเจริญพันธ์ที่ 2.1 เด็กเกิดจำนวน 1,024,971 คน
วัยแรงงานขาดแคลนใช้ผู้สูงอายุทำงานทดแทนแรงงานที่ขาดแคลน ในต่างประเทศ เช่น 7 สวีเดน ญี่ปุ่น เกาหลี นอร์เวย์
8 แนวทางการดำเนินงานตามมาตรการปรับโครงสร้างประชากรไทย สู่ความยั่งยืน (ส่งเสริมการมีบุตร)
มาตรการที่ 1 มาตรการทางภาษี 9 ลดหย่อนภาษีสำหรับประชากรที่สมรสและมีบุตร โดยลดภาษีสำหรับผู้มีบุตรในอัตราก้าวหน้า วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการจูงใจให้ครอบครัวที่มีความสามารถสูงมีบุตรและช่วยลดค่าใช้จ่าย
มาตรการที่ 2 ให้บริการสำหรับผู้มีบุตรยาก 10 ส่งเสริมการเข้าถึงบริการสำหรับผู้มีบุตรยาก (ราคาถูก ดำเนินการโดยรัฐ) ผลักดันให้มีการใช้กฎหมายส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอนามัยเจริญพันธุ์ (อุ้มบุญ) วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการจูงใจให้ผู้ที่มีบุตรยากได้มีโอกาสมีบุตร
มาตรการที่ 3 ลดภาระการเลี้ยงดูบุตร 11 ส่งเสริมให้มีการลาหยุดเพื่อคลอดบุตร ส่งเสริมให้มีการขยายระยะเวลาการลาเลี้ยงดูบุตร ส่งเสริมให้สามีลาหยุดเลี้ยงดูบุตร สนับสนุนค่าเลี้ยงดูบุตรสำหรับเด็กแรกเกิด (Baby Bonus) ให้สิทธิพิเศษสำหรับคู่สมรสในการกู้ยืมเงิน
มาตรการที่ 4 ส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงดูบุตร 12 ส่งเสริมให้มีสถานรับเลี้ยงเด็กอ่อน ส่งเสริมให้มีสถานรับเลี้ยงเด็กในที่ทำงาน ส่งเสริมให้มีอาสาสมัครดูแลเด็ก (Baby Sitter) ส่งเสริมให้มีบริการศูนย์เด็กเล็กที่ได้มาตรฐาน จัดตั้งสถานที่สำหรับฝากดูแลเด็กหลังเลิกเรียน