เรื่อง การติดเชื้อรา Aspergillosis เนื่องจากเชื้อ Aspergillus

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

สนับสนุน โดย บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคที่สำคัญในสุกร.
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
หลักสำคัญในการล้างมือ
โพรโทซัว( Protozoa ).
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
WHOเตือนไข้หวัด2009จ่อระบาดทั่วโลก
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Tuberculosis วัณโรค.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
การบริหารยาทางฝอยละออง
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
การล้างมือ (hand washing)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การติดเชื้อรา Aspergillosis เนื่องจากเชื้อ Aspergillus โดย นางสาวแวมารีแย ปาเกร์ รหัส 404652032 โปรแกรมชีววิทยาประยุกต์(จุลชีววิทยา) กลุ่มพื้นฐานที่ 12

บทคัดย่อ การติดเชื้อราAspergillosis เชื้อ Aspergillus มีประมาณ 600 สายพันธุ์ พบได้บ่อยที่สุดตามสิ่งแวดล้อมทั่วๆ ไป สามารถต่อโรคได้กว้างขวาง สายพันธุ์ที่มีความรุนแรงในการก่อโรคคือ Aspergillus fumigatus และAspergillus flavus

บทคัดย่อ(ต่อ) การติดเชื้อราAspergillosis โรค Aspergillusis ครั้งแรกพบในนก ต่อมาพบโรคในคน ต่อมาพบบ่อย ๆ ในคนเลี้ยงนก ส่วนมากจะเป็นในผู้ป่วยที่มีความบกพร่องทางภูมิคุ้มกัน

บทนำ บทที่ 1 การติดเชื้อ Aspergillusis สายพันธุ์ที่มีความรุนแรงในการก่อโรค คือ Aspergillus fumigatus และ Aspergillus flavus ผู้ที่มีโอกาสติดเชื้อ ผู้ที่มีความบกพร่องของภูมิคุ้มกันทางร่างกาย ผู้ที่ป่วยด้วยโรคอื่นอยู่ก่อน สามารถทิ้งให้เกิดการติดเชื้อในร่างกายได้หลายระบบ

บทที่ 1 (ต่อ) สกุล Aspergillusis จัดเป็นเชื้อราฉวยโอกาสที่พบได้บ่อยที่สุด คุณสมบัติของเชื้อรานี้ 1 จัดเป็นเชื้อราชนิดมีผนังกั้น 2 มีก้านชูงอกตรงออกจากสายตา 3 ปนกระเปาะมีติ่ง ชั้นเดียวหรือสองชั้น 4 ปลายติ่งเป็นที่เกิดของโคนิเดีย

บทที่ 1 (ต่อ) การสืบพันธุ์แบบไม่ใช้เพศของรา ส่วนใหญ่จัดอยู่ใน form – aenus Aspergillus มีความใกล้เคียงกับรา penicillum ความสำเร็จของรา Aspergillus สามารถทำให้เกิดโรคที่รุนแรงได้ บางชนิดใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการผลิตเหล้า ราหลายชนิดผลิตสารที่ก่อโรคมะเร็งในตับ

บทที่ 1 (ต่อ) นิเวศน์วิทยาและการติดต่อ เชื้อสุล Aspergillus สาเหตุ พลได้บ่อยที่สุดตามสิ่งแวดล้อมทั่วโลก สาเหตุ เชื้อที่เป็นสาเหตุที่รุนแรงที่สุดคือ Aspergillus fumigatus และ Aspergillus flavus รูปร่างลักษณะทั่วไปของเชื้อ Aspergillus สายราชนิดมีผนังกั้นมีแตแขนง แตกแขนงสร้างเป็นก้านชูสปอร์

บทที่ 1 (ต่อ) บทที่ 2 สาเหตุ อาการของโรค ที่ปลายของก้านจะพองตัวออกมากหรือน้อย แล้วแต่ชนิดของสปีชีสเชื้อ Aspergillus จะพบทั้ว ๆ ไป ตามดิน, ฝุ่นละอองในอากาศ, กองใบไม้ และใบหญ้าที่เน่าเปื่อยผุพัง บทที่ 2 อาการของโรค 1. Allergic bronchopulmonary Aspergillusis

บทที่ 2 อาการของโรค พบบ่อยมาก เกิดจากการสูดดมสปอร์ โรคเป็นแบบเรื้อรัง ผู้ป่วยมีอาการหืด 2. Aspergilloma การติดเชื้อราในปอดที่เชื้อราก่อตัวเป็นก้อน โรคนื้อาจเป็นแบบมีอาการหรือไม่มีอาการ เชื้อเข้าร่างกายโดยการหายใจ หรือเข้าทางบาดแผล

บทที่ 2 (ต่อ) อาการของโรค 3. Invasive aspergillosis การก่อโรค การติดเชื้อราที่แพร่กระจายไปอวัยวะต่างๆของร่างกายตามหลอดลม พบในผู้ป่วยที่มีความต้านทานต่ำ หรือถูกกด ความรุนแรงของโรคนี้ขึ้นอยู่กับ ความสามารถของเชื้อในการบุกรุกหลอดเหลือด การก่อโรค Aspergillus สามารถก่อโรคได้ก้วางขวาง โรคที่เกิดขึ้นเรียกว่า Aspergillusis

บทที่ 2 (ต่อ) อาการของโรค โรคที่เกิดแบ่งได้ดังนี้ 1. ก่อโรคปอด 2. ก่อโรคที่ประสาท ก่อโรคที่ผิวหนัง 4. ก่อโรคบริเวณจมูก หู 5. ก่อโรคที่ตา 6. ก่อโรคที่เล็บ 7. ก่อโรคมัยเซโตมา 8. ก่อโรคแพร่การกระจาย

บทที่ 2 (ต่อ) พยาธิสภาพ Natural ของร่างกายก็คือ ในผู้ป่วย aspergilloma ความสามารถของเม็ดเลือดขาว นิวโตฟิลและแคดโครฟาจในการกำจัด สายราและสปอร์ ความไวของเชื้อในผู้ป่วยที่มีความบกพร่องของระบบความต้านทานนั้น โรคจะมีความรุนแรงถึงตายอย่างรวดเร็ว ในผู้ป่วย aspergilloma ตัวเชื้อรารวมตัวเป็นก้อนเรียกว่า fungus ball มีขนาดต่าง ๆ กัน

บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัย การวินิจฉัยที่จำเพาะคือ การตรวจพบเชื้อรา Aspergillus species จากรอยโรคของผู้ป่วย การตรวจเชื้อจากตัวอย่างของผู้ป่วย อาจเป็นเสมหะหรือชิ้นเนื้อ ในความเป็นจริงยากที่จะตรวจพบจากเสมหะ วิธีที่ดีตรวจจากชิ้นเนื้อประกอบกับการตรวจทางซีรั่มวิทยา สายราที่พบจะมีลักษณะ เป็นสายชนิดมีผนังกั้น มีการแตกแขนงเป็นสองง่าม การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ

บทที่ 3 (ต่อ) การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 1. สิ่งที่ส่งมาตรวจ เช่น ขูดจากกระจก หนอง ชิ้นเนื้อ นำมาหยดน้ำยาแตสเซียมไฮดรอกไซด์ แล้วส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ อีกส่วนหนึ่งนำมาเพาะในวุ้นซาบูไรด์ บ่มไว้ที่ T ห้องและ 300C จะพบโคโลนตามข้อ 2 2. โคโลนีปรากฏประมาณ 1 สัปดาห์ 3. เนื่องจากเชื้อราที่พบได้ตามธรรมชาติ อาจปนเปื้อนในระหว่างเก็บ สิ่งส่งตรวจ การตรวจทางพยาธิวิทยาและอาการทางคลิดนิคจึงมีความสำคัญ

บทที่ 3 (ต่อ) การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 4. ปฏิกิริยาทางน้ำเหลือง เนื่องจากเชื้อราแอสเฟอร์จิลลัส ซึ่งมีอุบัติการณ์สูง จึงเตรียมน้ำยาทดสอบ เพื่อใช้ทดสอบหาแอนตีบอดี ในซีรั่มผู้ป่วย การรักษา ยาที่ใช้รักษา invasive aspergillosis ได้ผลคือ amphotoricin B สำหรับผู้ป่วย allergic bronchopulmonary aspergillosis ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเมื่อได้รับ Corticosteroid ระยะสั้น ส่วน aspergilloma ต้องรักษาโดยการผ่าตัด

สรุป Aspergillosis เชื้อที่เป็นสาเหตุคือเชื้อราในกลุ่ม Aspergillus สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อในร่างกายได้หลายระบบ เชื้อ Aspergillus สามารถก่อโรคที่รุนแรง และ บางชนิดนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมได้ คือ การผลิต การทำเบยร์ การทำสารปฏิชีวนะ