พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
รู้จัก กบข.. รู้จัก กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เอกชน / ข้าราชการ เอกชน / รัฐวิสาหกิจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ.
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
ระยะเวลาการประเมิน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ. ศ. ๒๕๕๔.
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
สิทธิของข้าราชการทหาร
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
รู้จัก กบข..
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
เงินสวัสดิการ โดย นางสาวจิราวดี รวดเร็ว
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว ของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
The Comptroller General’s Department
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
แนวทางการบริหารตำแหน่ง. สาธารณสุขอำเภอ และผู้อำนวยการ รพ. สต
มติ ครม. เมื่อ 13 พฤษภาคม 2551 ปรับเงินค่าครองชีพ
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ปีงบประมาณ 2556 ออกจากราชการ วันที่ 1 ตุลาคม 2555 (รุ่นสุดท้ายตามมาตรการปรับปรุง อัตรากำลังของส่วนราชการ)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และอัตราการจ่าย ประโยชน์ทดแทน ในกรณีชราภาพ เป็นการเฉพาะในช่วงที่มีการลด.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 พฤษภาคม 2556.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 13.
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ในส่วนของกรมบัญชีกลาง
Separation : Retirement
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
หลักเกณฑ์การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ลูกจ้างประจำ
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
ณ ห้องประชุมตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน ระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม 2557
การจำแนกประเภทรายจ่าย
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปีงบประมาณ 2555
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
Payroll.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําของ
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) ออกใบรับแบบ 1.
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 การยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 และ การปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 - ไม่มี -

ทำไม ? - ไม่มี -

สภาพปัญหา 1. ความยุ่งยาก ซับซ้อนของกฎหมาย ช.ค.บ. 2. สิทธิในบำเหน็จดำรงชีพ 3. การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด 4. ผลกระทบทางจิตใจของผู้รับบำนาญ - ไม่มี -

1. ปัญหาความยุ่งยาก ซับซ้อนของกฎหมาย ช.ค.บ. - ไม่มี -

บำนาญ พ.ร.บ. 2494 บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 (ไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย) พ.ร.บ. กบข. บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 (ไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ) อธิบายถึงที่มา ว่าเหตุใดต้องมีการกำหนด ช.ค.บ.

เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.) บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย เงินเดือนเดือนสุดท้าย และ เวลาราชการ ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป NO!! O.K. ผู้รับบำนาญ ปรับบำนาญ ข้าราชการ ปรับเงินเดือน ข้าราชการปรับเงินเดือนขึ้นได้ ผู้รับบำนาญปรับบำนาญขึ้นไม่ได้ จึงต้องกำหนดในรูปของ ช.ค.บ. เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.)

พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 ลักษณะการปรับ ให้ปรับเพิ่ม ช.ค.บ. ขึ้นอีก X% (เท่ากับการปรับอัตราเงินเดือน) ใครรับบำนาญรวม ช.ค.บ. ไม่ถึง XXX บาท ให้ได้รับเพิ่มเป็น XXX บาท - ไม่มี -

บำนาญ + ช.ค.บ. = เงินที่ได้รับต่อเดือน ทุกวันนี้ ผู้รับบำนาญส่วนมาก รับเงิน 2 ก้อน ทุกเดือน บำนาญ + ช.ค.บ. = เงินที่ได้รับต่อเดือน

เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.) ปรับปรุงแก้ไขมาแล้วหลายครั้ง (13 ครั้ง) การคำนวน ช.ค.บ. แต่ละครั้งต้องคำนวนแยกกันทีละมาตรา เป็นรายบุคคล มีปัญหาความยุ่งยาก เสียเวลา งบประมาณ และบุคลากร โดยเฉพาะมาตรา 4 แก้ไขเพิ่มเติมมาแล้ว ตั้งแต่ ม. 4 ทวิ ยัน ม. 4 เอกาทศ แก้ครั้งต่อไป ทวีทศ

บำนาญ ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ความซ้ำซ้อนของ ช.ค.บ. เวลาคำนวนวุ่นวายมาก และต้องทำทีละคน ผิดพลาดง่าย ความซ้ำซ้อนของ ช.ค.บ.

2. ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิในบำเหน็จดำรงชีพ - ไม่มี -

บำเหน็จดำรงชีพ บำเหน็จดำรงชีพ เงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือการดำรงชีพ โดยจ่ายให้ครั้งเดียว - ไม่มี -

บำเหน็จดำรงชีพ จ่ายในอัตรา ไม่เกินสิบห้าเท่าของบำนาญรายเดือนที่ได้รับ อัตราและวิธีการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง กรณีได้รับทั้งบำนาญปกติ และบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ ให้นำมารวมกันคิดเป็นบำนาญรายเดือน สังเกตว่า ดำรงชีพจ่ายโดยคำนวนเป็น “เท่า” ของบำนาญรายเดือน ไม่รวม ช.ค.บ.

บำเหน็จดำรงชีพ กฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จดำรงชีพ พ.ศ. 2546 ขอรับได้ 15 เท่าของบำนาญรายเดือน แต่ไม่เกิน 2 แสนบาท   - ไม่มี -

บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญ ช.ค.บ. ดำรงชีพ ทั้งๆ ที่วัตถุประสงค์เป็นการช่วยเหลือเรื่องการดำรงชีพเหมือนกัน แต่ไม่รวม ดำรงชีพ

3. ปัญหาการเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด 3. ปัญหาการเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด - ไม่มี -

บำเหน็จตกทอด พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 บัญญัติให้การจ่ายบำเหน็จตกทอดโดยให้นำ ช.ค.บ. มารวมกับบำนาญเพื่อคำนวณเป็นบำเหน็จตกทอดได้ ของเดิม ก็ไม่รวม แต่ของใหม่ แก้ไขให้นำ ช.ค.บ. มารวมได้

บำเหน็จตกทอด บำนาญ ตกทอด ช.ค.บ. บำเหน็จตกทอดในปัจจุบันจึงรวม ช.ค.บ. ด้วย

4. ปัญหาด้านผลกระทบทางจิตใจของผู้รับบำนาญ - ไม่มี -

เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.) บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย เงินเดือนเดือนสุดท้าย และ เวลาราชการ ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป NO!! O.K. ผู้รับบำนาญ ปรับบำนาญ ข้าราชการ ปรับเงินเดือน จำภาพนี้ได้ไหม? เดิมผู้รับบำนาญปรับขึ้นบำนาญไม่ได้ เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.)

ผลกระทบด้านจิตใจ ข้าราชการได้ขึ้นเงินเดือน ผู้รับบำนาญไม่ได้ขึ้นบำนาญ ทั้งๆ ที่จริงๆ ผลเท่ากัน ผู้รับบำนาญไม่ได้ขึ้นบำนาญ (แม้ว่าจริงๆจะได้ปรับ ช.ค.บ. ในอัตราที่เท่ากันก็ตาม)

การแก้ไขปัญหา 1. ยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521 2. ปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 - ไม่มี -

การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) บำนาญ ช.ค.บ. นำ ช.ค.บ. มารวมเป็นเบี้ยหวัดหรือบำนาญ และให้ถือเป็นเบี้ยหวัดหรือบำนาญ แล้วแต่กรณี ได้ดำรงชีพเพิ่มขึ้น, สอดคล้องกับบำเหน็จตกทอด บำนาญ (ใหม่) บำนาญ ช.ค.บ.

การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) บำนาญ กำหนดให้สามารถปรับเพิ่มเบี้ยหวัดหรือบำนาญแล้วแต่กรณีได้ โดยตรง เช่นเดียวกับการปรับเพิ่มเงินเดือน เมื่อไม่มี ช.ค.บ. แล้ว ก็ต้องปรับเนื้อบำนาญโดยตรง บำนาญ (ใหม่) บำนาญ บำนาญ

การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) ตกทอด ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอดให้สอดคล้องกัน ปัจจุบัน บำนาญ+ช.ค.บ. = บำเหน็จตกทอด เมื่อ ช.ค.บ. ไม่มีแล้ว บำเหน็จตกทอด คำนวนจากบำนาญอย่างเดียว - ไม่มี - บำนาญ (ใหม่) ตกทอด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจ่ายเบี้ยหวัดบำนาญ - ไม่มี - 2. เพิ่มสิทธิประโยชน์ของผู้รับบำนาญเกี่ยวกับบำเหน็จดำรงชีพ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3. ทำให้สิทธิในบำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ และบำเหน็จตกทอด มีความชัดเจน สอดคล้อง และเป็นมาตรฐานเดียวกัน 4. เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญโดยตรง ส่งผลดีทางด้านสภาพจิตใจ - ไม่มี -

ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาร่างฯ ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความคืบหน้า ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาร่างฯ ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ไม่มี -