พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 การยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 และ การปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 - ไม่มี -
ทำไม ? - ไม่มี -
สภาพปัญหา 1. ความยุ่งยาก ซับซ้อนของกฎหมาย ช.ค.บ. 2. สิทธิในบำเหน็จดำรงชีพ 3. การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด 4. ผลกระทบทางจิตใจของผู้รับบำนาญ - ไม่มี -
1. ปัญหาความยุ่งยาก ซับซ้อนของกฎหมาย ช.ค.บ. - ไม่มี -
บำนาญ พ.ร.บ. 2494 บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 (ไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย) พ.ร.บ. กบข. บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 (ไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ) อธิบายถึงที่มา ว่าเหตุใดต้องมีการกำหนด ช.ค.บ.
เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.) บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย เงินเดือนเดือนสุดท้าย และ เวลาราชการ ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป NO!! O.K. ผู้รับบำนาญ ปรับบำนาญ ข้าราชการ ปรับเงินเดือน ข้าราชการปรับเงินเดือนขึ้นได้ ผู้รับบำนาญปรับบำนาญขึ้นไม่ได้ จึงต้องกำหนดในรูปของ ช.ค.บ. เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.)
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521 ลักษณะการปรับ ให้ปรับเพิ่ม ช.ค.บ. ขึ้นอีก X% (เท่ากับการปรับอัตราเงินเดือน) ใครรับบำนาญรวม ช.ค.บ. ไม่ถึง XXX บาท ให้ได้รับเพิ่มเป็น XXX บาท - ไม่มี -
บำนาญ + ช.ค.บ. = เงินที่ได้รับต่อเดือน ทุกวันนี้ ผู้รับบำนาญส่วนมาก รับเงิน 2 ก้อน ทุกเดือน บำนาญ + ช.ค.บ. = เงินที่ได้รับต่อเดือน
เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.) ปรับปรุงแก้ไขมาแล้วหลายครั้ง (13 ครั้ง) การคำนวน ช.ค.บ. แต่ละครั้งต้องคำนวนแยกกันทีละมาตรา เป็นรายบุคคล มีปัญหาความยุ่งยาก เสียเวลา งบประมาณ และบุคลากร โดยเฉพาะมาตรา 4 แก้ไขเพิ่มเติมมาแล้ว ตั้งแต่ ม. 4 ทวิ ยัน ม. 4 เอกาทศ แก้ครั้งต่อไป ทวีทศ
บำนาญ ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ความซ้ำซ้อนของ ช.ค.บ. เวลาคำนวนวุ่นวายมาก และต้องทำทีละคน ผิดพลาดง่าย ความซ้ำซ้อนของ ช.ค.บ.
2. ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิในบำเหน็จดำรงชีพ - ไม่มี -
บำเหน็จดำรงชีพ บำเหน็จดำรงชีพ เงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือการดำรงชีพ โดยจ่ายให้ครั้งเดียว - ไม่มี -
บำเหน็จดำรงชีพ จ่ายในอัตรา ไม่เกินสิบห้าเท่าของบำนาญรายเดือนที่ได้รับ อัตราและวิธีการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง กรณีได้รับทั้งบำนาญปกติ และบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ ให้นำมารวมกันคิดเป็นบำนาญรายเดือน สังเกตว่า ดำรงชีพจ่ายโดยคำนวนเป็น “เท่า” ของบำนาญรายเดือน ไม่รวม ช.ค.บ.
บำเหน็จดำรงชีพ กฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จดำรงชีพ พ.ศ. 2546 ขอรับได้ 15 เท่าของบำนาญรายเดือน แต่ไม่เกิน 2 แสนบาท - ไม่มี -
บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญ ช.ค.บ. ดำรงชีพ ทั้งๆ ที่วัตถุประสงค์เป็นการช่วยเหลือเรื่องการดำรงชีพเหมือนกัน แต่ไม่รวม ดำรงชีพ
3. ปัญหาการเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด 3. ปัญหาการเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด - ไม่มี -
บำเหน็จตกทอด พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 บัญญัติให้การจ่ายบำเหน็จตกทอดโดยให้นำ ช.ค.บ. มารวมกับบำนาญเพื่อคำนวณเป็นบำเหน็จตกทอดได้ ของเดิม ก็ไม่รวม แต่ของใหม่ แก้ไขให้นำ ช.ค.บ. มารวมได้
บำเหน็จตกทอด บำนาญ ตกทอด ช.ค.บ. บำเหน็จตกทอดในปัจจุบันจึงรวม ช.ค.บ. ด้วย
4. ปัญหาด้านผลกระทบทางจิตใจของผู้รับบำนาญ - ไม่มี -
เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.) บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย เงินเดือนเดือนสุดท้าย และ เวลาราชการ ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป NO!! O.K. ผู้รับบำนาญ ปรับบำนาญ ข้าราชการ ปรับเงินเดือน จำภาพนี้ได้ไหม? เดิมผู้รับบำนาญปรับขึ้นบำนาญไม่ได้ เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ (ช.ค.บ.)
ผลกระทบด้านจิตใจ ข้าราชการได้ขึ้นเงินเดือน ผู้รับบำนาญไม่ได้ขึ้นบำนาญ ทั้งๆ ที่จริงๆ ผลเท่ากัน ผู้รับบำนาญไม่ได้ขึ้นบำนาญ (แม้ว่าจริงๆจะได้ปรับ ช.ค.บ. ในอัตราที่เท่ากันก็ตาม)
การแก้ไขปัญหา 1. ยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521 2. ปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 - ไม่มี -
การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) บำนาญ ช.ค.บ. นำ ช.ค.บ. มารวมเป็นเบี้ยหวัดหรือบำนาญ และให้ถือเป็นเบี้ยหวัดหรือบำนาญ แล้วแต่กรณี ได้ดำรงชีพเพิ่มขึ้น, สอดคล้องกับบำเหน็จตกทอด บำนาญ (ใหม่) บำนาญ ช.ค.บ.
การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) บำนาญ กำหนดให้สามารถปรับเพิ่มเบี้ยหวัดหรือบำนาญแล้วแต่กรณีได้ โดยตรง เช่นเดียวกับการปรับเพิ่มเงินเดือน เมื่อไม่มี ช.ค.บ. แล้ว ก็ต้องปรับเนื้อบำนาญโดยตรง บำนาญ (ใหม่) บำนาญ บำนาญ
การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) ตกทอด ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอดให้สอดคล้องกัน ปัจจุบัน บำนาญ+ช.ค.บ. = บำเหน็จตกทอด เมื่อ ช.ค.บ. ไม่มีแล้ว บำเหน็จตกทอด คำนวนจากบำนาญอย่างเดียว - ไม่มี - บำนาญ (ใหม่) ตกทอด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจ่ายเบี้ยหวัดบำนาญ - ไม่มี - 2. เพิ่มสิทธิประโยชน์ของผู้รับบำนาญเกี่ยวกับบำเหน็จดำรงชีพ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3. ทำให้สิทธิในบำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ และบำเหน็จตกทอด มีความชัดเจน สอดคล้อง และเป็นมาตรฐานเดียวกัน 4. เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญโดยตรง ส่งผลดีทางด้านสภาพจิตใจ - ไม่มี -
ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาร่างฯ ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความคืบหน้า ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาร่างฯ ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ไม่มี -