บทนำ บทที่ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพูด.
Advertisements

“ เทคนิคการนำเสนอโครงงาน ” (ด้วยวาจา)
มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
บทที่ 2 การพูดในที่ชุมนุมชน
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
หลักในการสั่งงาน 1. สั่งกับใคร ผู้ใด เมื่อไร สภาพของเพศ ชาย/หญิง ต้องวิเคราะห์คน เครื่องมือที่ใช้คือ ประวัติของ บุคคลากร 2. ต้องมอบอำนาจให้เขาทำงาน.
รายงานการวิจัย.
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
องค์ประกอบ Graphic.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
สอนอย่างไรใน 50 นาที.
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ก ล เ ม็ ด เกร็ดการนำเสนอ.
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ฝึกแล้วสื่อความหมายได้ดี ฝึกพูดเป็นการพัฒนามนุษยสัมพันธ์
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
การเขียนรายงานการวิจัย
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
รูปแบบการสอน.
( Human Relationships )
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ความหมายของการวิจารณ์
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การจัดองค์ประกอบของภาพ
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
เทคนิคการนำเสนอข้อมูลด้วยวาจา
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
การพัฒนาทักษะการคิด การฟัง และการพูด
(Stand & Deliver as Profressional for Management)
องค์ประกอบของบทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ความหมายของการวิจารณ์
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
วาทนิเทศและเทคนิคการนำเสนอ
การพูด.
(Demonstration speech)
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การผลิตรายการโทรทัศน์
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทนำ บทที่ 1

ความหมายของการนำเสนองานโฆษณา การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็นหรือ ความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ อันจะทำให้บรรลุผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของการนำเสนอ การนำเสนอ คือ การถ่ายทอดเนื้อหา สาระที่ผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะการพูด กับ การแสดงข้อมูล ในรูปแบบต่างๆ ผ่านสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม

การพูด (Speech) หมายถึง การสื่อสารความหมายระหว่างมนุษย์โดยใช้เสียง ภาษา แววตา สีหน้า ท่าทาง เพื่อถ่ายทอดความคิดจากผู้พูดไปยังผู้ฟังให้เข้าใจกัน ความหมายของการพูด

การพูดเป็นการสื่อสารที่ทำให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายกว่าการสื่อสารรูปแบบอื่น ๆ การพูดช่วยสร้างความเข้าใจอันดีงามต่อกัน การพูดเป็นเครื่องมือเสริมสร้างความสำเร็จในชีวิต การพูดเป็นเครื่องมือในการปลอบประโลมใจได้ การพูดช่วยในการถ่ายทอดความรู้ การพูดช่วยในการเผยแพร่ศาสนา ความสำคัญของการพูด

ความสำคัญของการพูด สุนทรภู่ได้กล่าวถึงการพูดไว้ว่า “ เป็นมนุษย์ สุดนิยม ที่ลมปาก จะได้ยาก โหยหิว เพราะชิวหา แม้นพูดดี มีคน เขาเมตตา จะพูดจา จงพิเคราะห์ ให้เหมาะความ” ความสำคัญของการพูด

แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ทุกคนพูดได้แต่อาจพูดดีไม่เท่ากัน นักพูดที่ดีไม่จำเป็นต้องมีพรสวรรค์เสมอไป การพูดเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ คือมีหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติและมีการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการเลือกใช้ถ้อยคำต่าง ๆ เพื่อจูงใจให้คนคล้อยตาม การพูดสามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้ แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการพูด

ประเภทของการพูด แบ่งตามวิธีการพูด ได้แก่ แบ่งตามวิธีการพูด ได้แก่ 1.1 การพูดโดยฉับพลันหรือกะทันหัน 1.2 การพูดโดยการเตรียมล่วงหน้า 1.3 การพูดโดยการเตรียมการล่วงหน้า 1.4 การพูดโดยวิธีท่องจำ ประเภทของการพูด

ประเภทของการพูด (ต่อ) แบ่งตามจำนวนผู้ฟัง 2.1 การพูดรายบุคคล 2.2 การพูดในที่ชุมชน ประเภทของการพูด (ต่อ)

ลักษณะการพูดที่ดี เนื้อหาสาระดี น่าสนใจ มีข้อมูลที่ถูกต้อง เนื้อหาสาระดี น่าสนใจ มีข้อมูลที่ถูกต้อง มีวาทศิลป์ คือ มีความสามารถในการแสดงออก การสร้างความน่าเชื่อถือ ความน่าสนใจ ความพอใจ ความเข้าใจให้เกิดขึ้น มีบุคลิกภาพที่ดี มีความจริงใจต่อผู้ฟัง ลักษณะการพูดที่ดี

ลักษณะการพูดที่ไม่ดี 1. พูดยาว ยืดยาด เยิ่นเย้อ เกินเวลาที่กำหนด 2. พูดสั้นไป ขาดสาระสำคัญ 3. พูดไม่ชวนฟัง 4. พูดไม่รู้เรื่อง ลักษณะการพูดที่ไม่ดี

ก่อนพูด ขณะพูด หลังการพูด หลักการพูดทั่วไป

1. ก่อนพูด วิเคราะห์ผู้ฟังและกาลเทศะ 1.1 ผู้ฟังคือใคร 1.2 สถานที่ 1. ก่อนพูด วิเคราะห์ผู้ฟังและกาลเทศะ 1.1 ผู้ฟังคือใคร 1.2 สถานที่ 1.3 เวลา 1.4 โอกาส การเลือกเรื่องที่จะพูด 2.1 เรื่องที่ตนเองและผู้ฟังสนใจ 2.2 เรื่องที่มีน้ำหนัก มีข้อเท็จจริง เหตุผล มีจุดหมายที่แน่นอน การเตรียมเรื่อง

การแต่งกาย ควรให้เหมาะสมกับกาลเทศะ และไม่มากเกินไปจนดึงดูดเนื้อหาสาระ การใช้กริยาท่าทางประกอบการพูด ช่วยเสริมความหมายของถ้อยคำ ,เรียกร้องความสนใจ 2.1 การแสดงสีหน้าและการใช้สายตา ต้องกวาดตามองผู้ฟังให้ทั่วถึง เป็นธรรมชาติ ให้สอดคล้องกับเรื่องที่บรรยาย 2.2 การยืน ต้องทรงตัวให้ดี ไม่พักเข่า ไม่โยกตัว 2.3 การนั่งพูด ต้องนั่งให้เรียบร้อย สุภาพ 2.4 การเดิน ผู้พูดสามารถเดินเคลื่อนที่ได้ แต่ควรทำเพื่อเน้นย้ำ เช่น ก้าวออกมาข้างหน้าเพื่อประกอบการเน้น ถอยไปข้างหลังเพื่อประกอบคำอธิบาย 2.5 การใช้มือแสดงท่าทาง อาจใช้เพื่อเสริมความชัดเจนในเรื่องจำนวน ขนาด รูปร่าง หรือทิศทาง 2. ขณะพูด

2. ขณะพูด (ต่อ) การใช้เสียง 3.1 ระดับเสียง ต้องไม่ดังหรือค่อยเกินไป 3.1 ระดับเสียง ต้องไม่ดังหรือค่อยเกินไป 3.2 ระดับความเร็ว ต้องให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง ที่บรรยาย ไม่เร็วหรือช้าไป 3.3 การเน้นนำหนัก ต้องเน้นหนัก –เบา เพื่อสร้างความน่าสนใจ 3.4 การผ่อนลมหายใจ ต้องไม่ทำให้คนฟังรู้สึกรำคาญ 2. ขณะพูด (ต่อ)

2. ขณะพูด (ต่อ) การใช้ภาษา 4.1 เลือกคำที่เหมาะสม กับ เนื้อเรื่อง บุคคล โอกาส สถานที่ 4.2 ภาษาที่ใช้ต้องเข้าใจได้ง่าย 4.3 ใช้สรรพนามที่ทำให้ผู้พูดกับผู้ฟังรู้สึกเป็นกันเอง 4.4 ใช้คำที่สร้างอารมณ์ร่วม และสร้างภาพ 4.5 ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย 4.6 หลีกเลี่ยงการใช้ประโยค , คำ หรือข้อความที่ใช้กันเกร่อ เพราะจะทำให้น่าเบื่อ 2. ขณะพูด (ต่อ)

เมื่อพูดจบแล้ว ผู้พูดควรประเมินการพูดของตนเอง เพื่อหาข้อดี ข้อด้อย ในด้านต่าง ๆ และนำมาปรับปรุงให้การพูดดีขึ้น 3. หลังพูด