ความหลากหลายของพืช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

รายงาน ความหลากหลายของพืช.
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
Leaf Monocots Dicots.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
โดย นางนพวรรณ จักษุสุวรรณ
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
Cell Specialization.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
Habit of Plant……....
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
Fiber Crops (พืชเส้นใย)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
มาลัยกลม ความหมายของมาลัยกลม
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
จังหวัดสุรินทร์.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
ฟีโลทอง philodendron sp.
การออกแบบการเรียนรู้
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
หนังสืออิเลคทรอนิคส์ เรื่อง … หนังสืออุทยานการเรียนรู้ PK Park Thailand วิชา …. ความรู้ทั่วไป ชุดที่ ๑ โรงเรียนบ้านเป้า ต. บ้านฟ้า อ. บ้านหลวง จ. น่าน.
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
Class Polyplacophora.
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหลากหลายของพืช

ความหลากหลายของพืช ปัจจุบันพืชทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 300000 ชนิด และหากเราให้ลักษณะเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเป็นเกณฑ์ในการจำแนกประเภทของพืชจะสามารถจำแนกได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ

1.พืชที่ไม่มีท่อลำเลียง พืชที่ไม่มีท่อลำเลียง (non-vascular plants) เป็นพืชที่อยู่ในกลุ่มไบรโอไฟต์ (Bryophyte) เป็นพืชสีเขียวขนาดเล็ก ชอบขึ้นบริเวณที่ชื้นแฉะและในที่ร่ม ได้แก่ พืชจำพวกมอส (moss)ลิเวิร์ด (liverwort) และฮอร์นเวิร์ด (hornwort)

2.พืชที่มีท่อลำเลียง พืชที่มีท่อลำเลียง(vascular plants)เป็นกลุ่มพืชที่สามารถปรับตัวและอาศัยอยู่บนบกได้ดี พืชในกลุ่มนี้จะมีการสร้างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงน้ำและเกลือแร่(xylem)และเนื้อเยื่อท่อลำเลียงอาหาร(phloem)แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

2.1 กลุ่มพวกเฟิน เป็นพืชไร้ดอกมีประมาณ 11000 ชนิดพบได้ทั่วไปในเขตร้อนและอยู่ในที่ชุ่มชื้นได้แก่ จอกหูหนู ผักแว่น 2.2 กลุ่มพวกเมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม หรือเรียกว่า เมล็ดเปลือย ลักษณะของเมล็ดจะมีลักษณะเปลือย ไม่มีเนื้อของใบไม้ห่อหุ้ม ปัจจุบันมีอยู่ไม่ถึง 1000 ชนิด ตัวอย่างพืชในกลุ่มนี้ ได้แก่ สนสองใบ สนสามใบ

2.3 กลุ่มพืชดอก เป็นกลุ่มของพืชที่มีมากที่สุดประมาณ 275000 ชนิด มีลักษณะสำคัญ คือ สามารถปรับตัวได้ดีในทุกๆ สภาพแวดล้อมและมีวิวัฒนาการสูงสุดมีระบบท่อลำเลียง(vascular system)เจริญดีมากมีการสืบพันธุ์ที่เรียกว่า ปฏิสนธิซ้อน(double fertilization)พืชในกลุ่มนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

พืชใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) เมล็ดของพืชชนิดนี้จะมีใบเลี้ยง 2 ใบทำหน้าที่สะสมอาหาร มีเส้นใบเป็นร่างแห ได้แก่ ไม้ยืนต้นเกือบทั้งหมด พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocotyledon) พืชในกลุ่มนี้จะมีเส้นใบขนานเป็นพืชไม้เนื้ออ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ เช่น ปาล์ม ข้าว เป็นต้น

จัดทำโดย 1. นายสุริยา นาคสาย เลขที่ 11 1. นายสุริยา นาคสาย เลขที่ 11 2. นายอานันท์ ฉัตรเงิน เลขที่ 12 3. นายศักดิ์สิทธิ์ บรรเทาวงษ์ เลขที่ 13 4.นายทวีศักดิ์ ธรรมเสถียร เลขที่ 14 ม.4/1 เสนอ อาจารย์ เขมวิกา ตันศิริ