แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

โภชนาการในคลินิก DPAC ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
การรับมือกับความเปลื่ยนแปลงด้านสุขภาพกายและจิตในวัยสูงอายุ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI) ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
โรคเบาหวาน ภ.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคไม่ติดต่อ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยั่งยืน นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

อย่างไรเรียกว่าอ้วน อ้วน : ร่างกายมี -ปริมาณไขมันสูงเมื่อเปรียบเทียบกับมวล กล้ามเนื้อ หรือ -มีค่าดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก/ตร.ม หรือ -มีรอบเอว ≥ 90 ซม.ในชาย, ≥ 80 ซม. ในหญิง

ดัชนีมวลกาย น้ำหนักปกติ 18.5-22.9 กก/ตร.ม ท้วม 23.0-24.9 กก/ตร.ม น้ำหนักปกติ 18.5-22.9 กก/ตร.ม ท้วม 23.0-24.9 กก/ตร.ม อ้วน 25.0-29.9 กก/ตร.ม อ้วนมาก ≥ 30.0 กก/ตร.ม

ทำไมน้ำหนักและรอบเอวจึงเป็นเรื่องสำคัญ น้ำหนักเพิ่มขึ้นหรืออ้วน ทำให้มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นต่อ โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันเลือดสูง มะเร็งบางชนิด โรคถุงน้ำดี โรคตับ หยุดหายใจขณะหลับ ข้ออักเสบ

สถานการณ์ เสียชีวิตมากกว่าปีละ 6.5 หมื่นรายจากกลุ่มโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจหลอดเลือด และเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันเลือดสูง มากกว่า 13 ล้านคน น้ำหนักเกินและอ้วนเกือบร้อยละ 30 อ้วนลงพุงหรือรอบเอวเกินถึงร้อยละ 24 และ 60 ในเพศชายและหญิง

สมดุลของพลังงาน พลังงานเข้า < พลังงานออก ผอมลง พลังงานเข้า < พลังงานออก ผอมลง พลังงานเข้า > พลังงานออก อ้วนขึ้น พลังงานเข้า = พลังงานออก เท่าเดิม

เป้าหมายการจัดการน้ำหนักและรอบเอว ป้องกันมิให้น้ำหนักเพิ่ม ลดน้ำหนักลง 5-10 % รักษาน้ำหนัก

ป้องกันมิให้น้ำหนักเพิ่ม เพิ่มการเคลื่อนไหวออกกำลัง ใช้พลังงานออกไปอย่างน้อยวันละ 100 แคลอรี ลดการกินอาหารลงวันละ 100 แคลอรีและกินอย่างฉลาด

ลดน้ำหนักลง 5-10 % ออกแรง/ออกกำลังอย่างน้อยวันละ 30 นาที ถ้าไม่ลดให้เพิ่มระยะเวลา เป็น 45 นาที จนถึง 60 นาทีต่อวัน กินลดลงวันละ 500-1000 แคลอรี หรือประมาณ 1/3-1/2 ของอาหารที่กินต่อวันโดยกินอย่างฉลาด

รักษาน้ำหนัก ออกแรง/ออกกำลังวันละ 60-90 นาทีต่อวัน กินเท่าที่ร่างกายต้องการใช้

Obesity and overweight assessment (American Family Physician, 2001)

Reduction in Type 2 Diabetes With Lifestyle Intervention vs Metformin 3234 participants - W 55%, B 20%, H 16%, AI 5% Age ~50 BMI ~34 Waist ~105 cm FBG ~106 HbA1c ~5.9 Placebo + standard lifestyle advice vs. Metformin 850 mg bid + lifestyle advice vs. Intensive lifestyle intervention low-calorie, low-fat diet (NCEP Step 1) wt loss goal 7% of base weight exercise 150 min per week Ref: Diabetes Prevention Program Research Group (NEJM 2002)

เครื่องมือสำหรับเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครผู้นำ แบบประเมิน พันธะสัญญาเพื่อปรับพฤติกรรม โปสเตอร์ดัชนีมวลกายและเป้าหมายลดน้ำหนัก โปสเตอร์ 4 แบบ เพื่อประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ 60 เคล็ดลับเพื่อลด 100 แคลอรี และโปสเตอร์ 77 เคล็ดลับเพื่อเพิ่ม 2,000 ก้าว คู่มือก้าวเดิน......เพื่อสุขภาพ และเดินนี้ไซร้....มิใช่ธรรมดา

เครื่องมือสำหรับผู้รับบริการ แผ่นพับ ขอต้อนรับ..... และ คิดถึงการเปลี่ยนแปลง.... 60 เคล็ดลับเพื่อลด 100 แคลอรี 77 เคล็ดลับเพื่อเพิ่ม 2000 ก้าว 10 เคล็ดลับปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต...พิชิตพุง กินอย่างฉลาด 4 แบบ ปฏิทินบันทึกความก้าวหน้า.....สู่สุขภาพดี คำแนะนำการใช้เครื่องนับก้าว แผ่นพับ ก้าวเดิน.....เพื่อสุขภาพ

5 A’s ขั้นที่ 1 สอบถาม (Ask) ขั้นที่ 2 แนะนำ (Advise) ขั้นที่ 3 ประเมิน (Assess) ขั้นที่ 4 ช่วยเหลือ (Assist) ขั้นที่ 5 การติดตาม (Arrange)

การประเมินผล จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนผู้ที่หยุดหรือเลิกจากโครงการ จำนวนผู้ที่ลดน้ำหนัก/ลดรอบเอวได้ จำนวนผู้ที่ออกกำลังด้วยการเดินสม่ำเสมอตามข้อแนะนำ จำนวนผู้ที่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกิน ค่าเฉลี่ยน้ำหนักตัว/รอบเอว ของกลุ่ม ค่าเฉลี่ยเวลาที่ใช้เดิน/จำนวนก้าวของกลุ่ม