การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน “ รางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน ประจำปี พ.ศ.2554” กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม 1 1
2. เงื่อนไขการจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล 3. แนวทางการจัดทำรายงาน การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน 1. ประเภทรางวัล 2. เงื่อนไขการจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล 3. แนวทางการจัดทำรายงาน 4. เกณฑ์การพิจารณารางวัล 5. เกณฑ์การตรวจประเมิน
1) ประเภทรางวัล 1) รางวัลรายกระบวนงาน 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน 3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วน ราชการ 4) รางวัลนวัตกรรมการให้บริการ
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 1) รางวัลรายกระบวนงาน 1. เป็นกระบวนงานที่เสนอลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงานในปีใดก็ได้ 2. เป็นกระบวนงานหลักที่สำคัญที่ประชาชนใช้บริการจำนวนมาก หรือ ผลการพิจารณาส่งผลกระทบต่อประชาชนจำนวนมาก 3. เป็นกระบวนงานที่มีมาตรฐานบริการไม่ต่ำกว่ากระบวนการเดียวกัน ที่เคยได้รับรางวัลในปีก่อนๆ 4. เป็นกระบวนงานที่หน่วยงานบริการนั้นยังไม่เคยได้รับรางวัลดีเด่นมาก่อน
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน 1. ส่วนราชการ (กรม) เท่านั้น เป็นผู้เสนอขอรับรางวัล 2. เป็นกระบวนงานหลักที่มีความสำคัญ 3. เป็นกระบวนงานที่มีหน่วยบริการไม่น้อยกว่า 5 แห่ง 4. พิจารณาจากผลงานในทุกหน่วยบริการ ซึ่งอาจมีทั้งในส่วนกลาง (กรม) และส่วนภูมิภาค
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ 1. เป็นกระบวนงานที่มีลักษณะการบริการที่ต้องผ่านการพิจารณาหลายส่วนราชการ 2. เป็นกระบวนงานที่มีขั้นตอนการดำเนินการผ่านการพิจารณาอย่างน้อย 3 ส่วนราชการ (กรม/จังหวัด)
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 4) เกณฑ์การพิจารณารางวัลนวัตกรรมการให้บริการ 1. การสร้างสรรค์งานบริการใหม่ที่สามารถสร้างประโยชน์กับประชาชน 2. สร้างสรรค์วิธีการทำงานในเรื่องขั้นตอนการทำงานหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ ในกระบวนการให้บริการที่สามารถลดเวลาและขั้นตอนอย่างเฉียบพลัน 3. เป็นการนำเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ในการให้บริการหรือการเพิ่มช่องทาง และรูปแบบการให้บริการ 4. เป็นการเพิ่มคุณลักษณะใหม่ให้กับงานบริการเดิม ซึ่งเป็นการเพิ่มรูปแบบ การเข้าถึงงานบริการ กระบวนงานที่กรมเสนอเข้าประกวด -
3) แนวทางการจัดทำรายงาน 1) รางวัลรายกระบวนงาน เตรียมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 1.1 ) รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.2 ) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม1.3) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
3) แนวทางการจัดทำรายงาน 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน เตรียมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 2.1 ) รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 2.2 ) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม2.3) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด 3) แนวทางการจัดทำรายงาน 3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ เตรียมข้อมูล จัดทำรายงานผลการดำเนินงานเพื่อขอรับรางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ (แบบฟอร์ม 3.1 ) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
3) แนวทางการจัดทำรายงาน 4) รางวัลนวัตกรรมให้บริการ เตรียมข้อมูล จัดทำรายงานนวัตกรรมให้บริการของกระบวนการที่กรมประสงค์ที่เสนอเพื่อขอรับรางวัล (แบบฟอร์ม 4.1 ) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม4.2) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
4) เกณฑ์การพิจารณารางวัล รางวัลรายกระบวนงาน รางวัลภาพรวมกระบวนงาน และรางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ แบ่งออก เป็น 2 เกณฑ์ คือ 1. เกณฑ์การพิจารณาเชิงปริมาณ มี 4 มิติ รวม 400 คะแนน คือ มิติระยะเวลาที่ลดลง (100 คะแนน) มิติความพึงพอใจของประชาชน (100 คะแนน) มิติการอำนวยความสะดวก (100 คะแนน) มิติจำนวนผู้มาใช้บริการต่อหน่วยเวลา (100 คะแนน) 2. เกณฑ์การพิจารณาเชิงคุณภาพ มี 4 มิติ รวม 600 คะแนน คือ มิติด้านกระบวนการในการลดขั้นตอนและระยะเวลา (200 คะแนน) มิติด้านการให้ความสำคัญกับประชาชนและการบริการ (150 คะแนน) มิติด้านการอำนวยความสะดวก (150 คะแนน) มิติด้านการส่งเสริมการปฏิบัติงานของผู้บริหารและการเรียนรู้ (100 คะแนน)
4) เกณฑ์การพิจารณารางวัล รางวัลนวัตกรรมการให้บริการ มีเกณฑ์การพิจารณาแยกเป็น 2 มิติ ดังนี้ 1) มิติด้านระดับความใหม่และระดับความคิดสร้างสรรค์ มีคะแนน 500 คะแนน โดยพิจารณาจาก - การสร้างสรรค์งานบริการใหม่ - การสร้างสรรค์วิธีการทำงานใหม่ - การนำเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ - การเพิ่มคุณลักษณะใหม่โดยเน้นการทำงานเชิงรุก
4) เกณฑ์การพิจารณารางวัล 2) มิติด้านผลการดำเนินงาน มี 500 คะแนน แนวทางการพิจารณาประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านประสิทธิภาพ มีคะแนน 250 คะแนน โดยการพิจารณาจะให้ความสำคัญกับเรื่อง - การลดบุคลากรและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน - ลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ด้านคุณภาพ มีคะแนน 250 คะแนน โดยพิจารณาจะให้ความสำคัญกับเรื่อง - การยกระดับความพึงพอใจของประชาชน - การอำนวยความสะดวกในด้านการตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและความเสมอภาค
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน แนวทางการตรวจประเมินเพื่อให้รางวัล ตรวจประเมินจากรายงานผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ ระยะที่ 1 ผลงานเชิงปริมาณ (400 คะแนน) ผลงานเชิงคุณภาพประกอบกับผลการประเมินตนเอง (600 คะแนน) ตรวจเยี่ยมผลการปฏิบัติงานจริง ปรับลดคะแนนตามสัดส่วนตัวคูณ (คะแนนที่ได้จากระยะที่ 1 คูณด้วยสัดส่วนตัวคูณ) เกณฑ์การปรับลดคะแนน ระยะที่ 2
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน การตรวจประเมินกระบวนงานที่เสนอขอรับรางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชนทุกประเภท รางวัลกำหนดเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : ตรวจประเมินจากรายงานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ (คะแนนเต็ม 1000 คะแนน) เป็นการตรวจประเมินที่พิจารณาจากเอกสารหลักฐานสำคัญต่างๆ ที่บ่งชี้ว่าส่วนราชาการได้รายงานผลการดำเนินการอย่างถูกต้อง ได้แก่ เอกสารการจดบันทึกเกี่ยวกับขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินการสำหรับกระบวนงานที่ขอรับการประเมินเอกสารที่เกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจของประชาชน สิ่งอำนวยความสะดวกที่สำคัญ สถิติผู้รับบริการโดยเฉลี่ยต่อวัน
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน ระยะที่ 2 : ตรวจเยี่ยมประเมินจากการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ของหน่วยงาน ที่ได้คะแนนการตรวจประเมินระยะที่ 1 มากกว่า 750 คะแนน โดยเป็นการตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานจริงเปรียบเทียบกับรายงานการประเมินตนเองของส่วนราชการ ซึ่งมีแนวทางการพิจารณา ดังนี้ 1. หากผลการตรวจประเมินการปฏิบัติงานจริงไม่พบความเบี่ยงเบนจากการรายงานประเมินตนเองก็ได้คะแนนเท่ากับที่ผู้ตรวจประเมินให้ไว้จากการตรวจประเมินระยะที่ 1 2. หากผลการตรวจประเมินการปฏิบัติงานจริงพบความเบี่ยงเบนในทางลบ เมื่อเปรียบเทียบกับรายงานประเมินตนเอง ก็ให้ปรับลดคะแนนลงตามสัดส่วน
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน ระดับความเบี่ยงเบนที่พบ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวคูณ ระดับความเบี่ยงเบนที่พบ 1 ไม่พบความเบี่ยงเบน 0.95 – 0.85 พบความเบี่ยงเบนแต่ไม่มีนัยสำคัญ 0.80 – 0.70 พบความเบี่ยงเบนที่อาจส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ 0.60 – 0.40 พบความเบี่ยงเบนที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ 0.30 – 0.10 พบความเบี่ยงเบนที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถืออย่างรุนแรง
Q & A