การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

จากพฤติกรรม ส่วนตัว สู่ปัญหา ระดับชาติ. สัญญาณผิดชำระ หนี้เพิ่มขึ้นชัด ทั้งบัตรเครดิตและ สินเชื่อบุคคล.
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
โครงการประกวดกองทุนสำรองเลี้ยงชีพดีเด่น ครั้งที่ 2 ประจำปี 2556
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
“โครงการบ้านมิตรภาพ สปส.-ธอส.”
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
สวัสดิการ สมาชิก กบข..
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
รู้จัก กบข.. รู้จัก กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เอกชน / ข้าราชการ เอกชน / รัฐวิสาหกิจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
การออม-การลงทุน และแนวทาง การพัฒนาตลาดทุนของไทย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
สิทธิของข้าราชการทหาร
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
1.
รู้จัก กบข..
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
กองทุนประกันสังคมคือ...
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ.
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
แนวทางการบริหารตำแหน่ง. สาธารณสุขอำเภอ และผู้อำนวยการ รพ. สต
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และอัตราการจ่าย ประโยชน์ทดแทน ในกรณีชราภาพ เป็นการเฉพาะในช่วงที่มีการลด.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 พฤษภาคม 2556.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 เมษายน 2555.
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ในส่วนของกรมบัญชีกลาง
Separation : Retirement
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
- สวัสดิการตามที่กฎหมาย กำหนด - สวัสดิการตามนโยบาย การบริหารสหกรณ์ - สวัสดิการภายใต้กรอบ กฎหมาย.
อย่าลืมปิดเสียงเครื่องมือสื่อสาร นะจ๊ะ
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
Knowledge- Base Systems
สวัสดิการของผู้ปฏิบัติงาน อ.อ.ป.
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
ความรู้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
Payroll.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ โดย กลุ่มที่ 3 1. นางเบญจมาศ สงวนวงษ์ 2. นายประสงค์ วินัยแพทย์ 3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์ 4. ว่าที่ รต.ยงยุทธ เรืองภัทรกุล 5. นางเพียงใจ พิชัยพลากร 6. นายภักดี ศิวะพรชัย 7. นายพิพัฒน์ วรมาลี 8. นางนิตยา หินทอง 9. นางภัทรพร ตู้ทรัพย์ประเสริฐ 10. นายอุดมศักดิ์ โรจน์วิบูลย์ชัย นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

ความเป็นมาและสภาพปัญหา การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและการลดลงของประชากรวัยเด็ก ทำให้เป็นภาระของสังคมและรัฐ จึงควรมีระบบการออมที่ดี นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

ความเป็นมาและสภาพปัญหา กองทุนการออมเพื่อเกษียณอายุ ที่มีอยู่ 1. ภาคบังคับ - กองทุนประกันสังคม - กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) 2. ภาคสมัครใจ - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อทราบระบบการออมฯ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและปัญหา อุปสรรค เสนอแนะแนวทางแก้ไข เพื่อให้การดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

บทวิเคราะห์ปัญหา เงินออมค่อนข้างต่ำทำให้ได้รับผลประโยชน์ต่ำ ประเทศไทยมีเงินออมรวมทั้ง 3 ระบบ คิดเป็นร้อยละ 15 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ต่างประเทศร้อยละ 30 มีเงินออมเพื่อดำรงชีพในวัยเกษียณเฉลี่ยแล้วประมาณร้อยละ 22.25* ควรจะไม่น้อยกว่าร้อยละ 30-50 หมายเหตุ : * คำนวณโดย สศก. นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

ระบบการออมเพื่อเกษียณอายุของประเทศไทย SWOT ของกองทุนการออม SWOT ประกันสังคม กบข. สำรองเลี้ยงชีพ Weakness คำนวณฐานเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาท ทำให้อัตราเพิ่มคงที่และผลประโยชน์น้อย (จากการศึกษาของ Deloitte คำนวณว่า กองทุนล้มละลาย ปี พ.ศ.2589) สมาชิกได้รับผลตอบแทนในระดับต่ำ ผู้สูงอายุมากขึ้น วัยทำงานลดลงทำให้เงินกองทุนหมดเร็ว ลงทุนหลักทรัพย์ความมั่นคงสูง ผลตอบแทนต่ำ ไม่มีระบบการตรวจสอบที่ดี คลอบคลุมเฉพาะข้าราชการ เป็นภาคสมัครใจ ถ้านายจ้างไม่จัดตั้ง ลูกจ้างไม่สามารถออมได้ การลงทุนในกองทุนรวมทำให้นโยบายการลงทุนไม่ยืดหยุ่น การเปลี่ยนย้ายงานทำให้เกิดการขาดตอน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

สภาพปัญหา นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3 หน่วย : ล้านคน แรงงานที่ไม่ได้อยู่ในระบบกองทุนการออมเพื่อเกษียณอายุ แรงงานในระบบ 1.24 ล้านคน แรงงานนอกระบบ 21.60 ล้านคน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

บทวิเคราะห์ปัญหา กระทรวงการคลังได้ศึกษาวิเคราะห์ระบบการออมระยะยาวอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้ได้ยกร่างกฎหมายเพื่อแก้ปัญหาโดยจัดตั้งกองทุนการออมเพื่อการชราภาพ (กอช.) ซึ่งครอบคลุมแรงงานนอกระบบ นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

1. จัดตั้งกองทุนการออมเพื่อการเกษียณ (กอพ.) บทสรุปและข้อเสนอแนะ 1. จัดตั้งกองทุนการออมเพื่อการเกษียณ (กอพ.) เป็นภาคบังคับของแรงงานในระบบ นายจ้างและลูกจ้างจ่ายเงินเข้ากองทุนทุกเดือนตามอัตราที่กำหนด รัฐสมทบจำนวนหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความพร้อมของงบประมาณ ลูกจ้างสะสมเงินเพิ่มขึ้นได้แต่ไม่เกินขั้นสูงที่กฎหมายกำหนด กอพ. สามารถมอบหมายให้สถาบันการเงินหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้บริหารเงินทุน นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

2. จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมการกำกับดูแลกองทุนแห่งชาติ บทสรุปและข้อเสนอแนะ 2. จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมการกำกับดูแลกองทุนแห่งชาติ เพื่อกำกับดูแลการออมทุกระบบ กำหนดกฎเกณฑ์และประสานนโยบายของทุกกองทุนฯ 3. เปลี่ยนแปลงการจ่ายประโยชน์ทดแทน ให้สมาชิกสามารถเลือกรับเงินสะสมทั้งจำนวนหรือทยอยรับแล้วแต่จะเลือก เงินสมทบทยอยจ่ายเป็นรายเดือนภายในเวลาที่กำหนด นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

บทสรุป เพื่อให้การออมมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สมาชิกกองทุนมีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังเกษียณ นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3

นักบริหารการคลังรุ่น 1 กลุ่มที่ 3